DSpace Repository

การขยายบทบาทของกองกำลังป้องกันตนเองของญี่ปุ่นยุคหลังสงครามเย็น

Show simple item record

dc.contributor.advisor ไชยวัฒน์ ค้ำชู
dc.contributor.author ผณิตา ไชยศร, 2522-
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์
dc.coverage.spatial ญี่ปุ่น
dc.date.accessioned 2006-07-08T05:24:13Z
dc.date.available 2006-07-08T05:24:13Z
dc.date.issued 2547
dc.identifier.isbn 9745316989
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/680
dc.description วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 en
dc.description.abstract วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาถึงการขยายบทบาทของกองกำลังป้องกันตนเองของญี่ปุ่นในยุคหลังสงครามเย็น จนถึงปัจจุบัน (ค.ศ. 2004) ใน 2 มิติ คือ มิติทางกฎหมาย และมิติทางการปฏิบัติการจริง โดยศึกษาถึงปัจจัยภายในประเทศญี่ปุ่นที่เกี่ยวข้อง และเชื่อมโยงกับสถานการณ์ภายนอกประเทศที่ส่งผลกระทบต่อการขยายบทบาทของกองกำลังป้องกันตนเอง เพื่อพิสูจน์ให้เห็นถึงความต้องการของญี่ปุ่นในการที่จะขยายบทบาทของกองกำลังป้องกันตนเองด้วยตนเอง ผู้วิจัยได้ใช้แนวคิดการวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) ของเดวิด อีสตัน (David Easton) เพื่อช่วยในการวิเคราะห์ความเชื่อมโยงระหว่างปัจจัยภายใน และปัจจัยภายนอกที่ส่งผลให้กองกำลังป้องกันตนเองของญี่ปุ่นสามารถขยายบทบาทได้ในช่วงเวลาดังกล่าว การศึกษาพบว่า การขยายบทบาทของกองกำลังป้องกันตนเองของญี่ปุ่นหลังสงครามเย็น มีแรงผลักดันจากทั้งปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายใน ได้แก่ นักการเมืองสายเหยี่ยว ข้าราชการ กลุ่มธุรกิจ และมติมหาชน ส่วนปัจจัยภายนอก คือ แรงกดดันและพฤติกรรมของสหรัฐอเมริกาที่ส่งผลต่อความมั่นใจในความมั่นคงของญี่ปุ่น ภัยคุกคามจากเกาหลีเหนือ การเป็นมหาอำนาจที่ยิ่งใหญ่ขึ้นของจีน และการก่อการร้ายที่ขยายตัว โดยปัจจัยภายนอกนั้นเป็นปัจจัยเสริมที่ส่งผลกระทบต่อการรับรู้ของตัวแสดงภายในญี่ปุ่นให้มีความต้องการที่จะขยายบทบาทด้านความมั่นคงมากยิ่งขึ้น en
dc.description.abstractalternative The aim of this thesis is to analyze the internal and external factors that have led to the expanding role of Japan's Self-Defense Forces (SDF) in the post-cold war era by examining laws and the SDF's actual performances. The thesis employed David Easton's system analysis approach to explain the interplay between the internal and external variables that have been responsible for a greater role of Japan's SDF. The central findings of the thesis is that the internal factors which included the influence of "hawkish" or hard-liner politicians and bureaucracies, business elites and Japanese public and external factors which included the United State behaviors affecting Japan's confidence in her security, North Korea's perceived threat, the rise of China and the expansion of terrorism are the complementary factors that have affected Japanese policy makers' decision to authorize a more active role of Self-Defense Forces for the maintenance of peace and stability. en
dc.format.extent 2802001 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th en
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject นโยบายต่างประเทศ--ญี่ปุ่น en
dc.subject ทหาร--ญี่ปุ่น en
dc.subject ความมั่นคงระหว่างประเทศ en
dc.subject สงครามเย็น en
dc.subject ญี่ปุ่น--ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ en
dc.subject ญี่ปุ่น--การป้องกันประเทศ en
dc.title การขยายบทบาทของกองกำลังป้องกันตนเองของญี่ปุ่นยุคหลังสงครามเย็น en
dc.title.alternative The expanding role of Japan's self-defense forces in the post-cold war era en
dc.type Thesis en
dc.degree.name รัฐศาสตรมหาบัณฑิต en
dc.degree.level ปริญญาโท en
dc.degree.discipline ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ en
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor Chaiwat.K@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record