DSpace Repository

การพัฒนาโปรแกรมฝึกอบรมผู้ให้การเลี้ยงดูเด็กโดยการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง เรื่องการอบรมเลี้ยงดูเด็กวัยทารกเป็นกลุ่มในสถานรับเลี้ยงเด็กบ้านเด็กจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Show simple item record

dc.contributor.advisor อุดมลักษณ์ กุลพิจิตร
dc.contributor.author สุทธาทิพย์ เมืองสุข
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-10-08T02:47:31Z
dc.date.available 2020-10-08T02:47:31Z
dc.date.issued 2542
dc.identifier.isbn 9743328335
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68421
dc.description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโปรแกรมฝึกอบรมผู้ให้การเลี้ยงดูเด็กโดยการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง เรื่องการอบรมเลี้ยงดูเด็กวัยทารกเป็นกลุ่มในสถานรับเลี้ยงเด็ก บ้านเด็ก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ให้การเลี้ยงดูเด็กโดยการสุ่มแบบเจาะจง จำนวน 10 คน และผู้ปกครองที่สมัครใจเข้าร่วมกิจกรรมโปรแกรมการฝึกอบรม จำนวน 10 คน ขั้นตอนในการพัฒนา โปรแกรมฯ ประกอบด้วย ขั้นที่ 1 การร่างโปรแกรมฯ ขั้นที่ 2 การทดลองใช้โปรแกรมฯ ขั้นที่ 3 การปรับปรุงโปรแกรมฯ ผลการวิจัยเป็นดังนี้คือ 1.)หลังการทดลองใช้โปรแกรมฯ ผู้ให้การเลี้ยงดูเด็กมีคะแนนความรู้ความเข้าใจจากการฝึกอบรมสูงกว่าก่อนอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2.) หลังการทดลองใช้โปรแกรมฯ ผู้ให้การเลี้ยงดูเด็กมากกว่าร้อยละ 80 มีทักษะการปฏิบัติงานอบรมเลี้ยงดูเด็กวัยทารกสูงกว่าก่อนทดลอง 3.) หลังการทดลองใช้โปรแกรมฯ ผู้ให้การเลี้ยงดูเด็กมากกว่าร้อยละ 80 มีความพึงพอใจมากต่อการเข้าร่วมโปรแกรมฯ และ 4.) ผู้ปกครองที่สมัครใจเข้าร่วมโปรแกรมฯมากกว่าร้อยละ 80 มีความพึงพอใจมากต่อการเข้าร่วมโปรแกรมฯ โปรแกรมฯ ที่ปรับปรุงแล้วและนำเสนอประกอบด้วย หลักการของโปรแกรม ฯ วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมายสาระสำคัญของโปรแกรมฯ การดำเนินกิจกรรมในโปรแกรมฯ และการประเมินผลการดำเนินกิจกรรมในโปรแกรมฯ แบ่งเป็น 4 ระยะ คือ 1.) ระยะเตรียมการวางแผนเข้าสู่โปรแกรมฯ 2.) ระยะเริ่มต้นโปรแกรมฯ 3.) ระยะพัฒนาโปรแกรมฯ และ 4.) ระยะสรุปและอภิปรายผลโปรแกรมฯ
dc.description.abstractalternative การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโปรแกรมฝึกอบรมผู้ให้การเลี้ยงดูเด็กโดยการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง เรื่องการอบรมเลี้ยงดูเด็กวัยทารกเป็นกลุ่มในสถานรับเลี้ยงเด็ก บ้านเด็ก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ให้การเลี้ยงดูเด็กโดยการสุ่มแบบเจาะจง จำนวน 10 คน และผู้ปกครองที่สมัครใจเข้าร่วมกิจกรรมโปรแกรมการฝึกอบรม จำนวน 10 คน ขั้นตอนในการพัฒนา โปรแกรมฯ ประกอบด้วย ขั้นที่ 1 การร่างโปรแกรมฯ ขั้นที่ 2 การทดลองใช้โปรแกรมฯ ขั้นที่ 3 การปรับปรุงโปรแกรมฯ ผลการวิจัยเป็นดังนี้คือ 1.)หลังการทดลองใช้โปรแกรมฯ ผู้ให้การเลี้ยงดูเด็กมีคะแนนความรู้ความเข้าใจจากการฝึกอบรมสูงกว่าก่อนอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2.) หลังการทดลองใช้โปรแกรมฯ ผู้ให้การเลี้ยงดูเด็กมากกว่าร้อยละ 80 มีทักษะการปฏิบัติงานอบรมเลี้ยงดูเด็กวัยทารกสูงกว่าก่อนทดลอง 3.) หลังการทดลองใช้โปรแกรมฯ ผู้ให้การเลี้ยงดูเด็กมากกว่าร้อยละ 80 มีความพึงพอใจมากต่อการเข้าร่วมโปรแกรมฯ และ 4.) ผู้ปกครองที่สมัครใจเข้าร่วมโปรแกรมฯมากกว่าร้อยละ 80 มีความพึงพอใจมากต่อการเข้าร่วมโปรแกรมฯ โปรแกรมฯ ที่ปรับปรุงแล้วและนำเสนอประกอบด้วย หลักการของโปรแกรม ฯ วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมายสาระสำคัญของโปรแกรมฯ การดำเนินกิจกรรมในโปรแกรมฯ และการประเมินผลการดำเนินกิจกรรมในโปรแกรมฯ แบ่งเป็น 4 ระยะ คือ 1.) ระยะเตรียมการวางแผนเข้าสู่โปรแกรมฯ 2.) ระยะเริ่มต้นโปรแกรมฯ 3.) ระยะพัฒนาโปรแกรมฯ และ 4.) ระยะสรุปและอภิปรายผลโปรแกรมฯ
dc.language.iso th
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.subject ทารก -- การดูแล
dc.subject เด็ก -- การดูแล
dc.subject ผู้ดูแลเด็ก
dc.subject การฝึกอบรม
dc.title การพัฒนาโปรแกรมฝึกอบรมผู้ให้การเลี้ยงดูเด็กโดยการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง เรื่องการอบรมเลี้ยงดูเด็กวัยทารกเป็นกลุ่มในสถานรับเลี้ยงเด็กบ้านเด็กจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.title.alternative Development of one-the job training program for caregivers on infant group care in Chulalongkorn University child care center
dc.type Thesis
dc.degree.name ครุศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การศึกษาปฐมวัย
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record