DSpace Repository

การวัดคุณค่าตราสินค้าโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่าง ตราสินค้ากับผู้บริโภค

Show simple item record

dc.contributor.advisor สราวุธ อนันตชาติ
dc.contributor.author วารินยา ลีลายุวัฒน์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-11-24T02:12:39Z
dc.date.available 2020-11-24T02:12:39Z
dc.date.issued 2543
dc.identifier.isbn 9741311389
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70924
dc.description วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและค้นหาเบื้องต้น (Exploratory studies) ถึง ลักษณะความสัมพันธ์ของผู้บริโภคกับตราสินค้า และลักษณะความภักดีต่อตราสินค้าของผู้บริโภคที่มีต่อตราสินค้าที่มีคุณค่าตราสินค้าแตกต่างกัน โดยผู้วิจัยใช้วิธีการสนทนากลุ่ม และการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 44 คน แบ่งเป็นผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ Nokia จำนวน 11 คน ผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ Ericsson จำนวน11 คนผู้ดื่มกาแฟผงสำเร็จรูป Nescafe จำนวน 11 คน และผู้ดื่มกาแฟผงสำเร็จรูป Moccona จำนวน 11 คน ผลการวิจัยพบว่า ผู้บริโภคมีความสัมพันธ์ และมีความภักดีต่อตราสินค้าที่มีคุณค่าสูงใน ระดับที่มากกว่าตราสินค้าที่มีคุณค่าตราสินค้าในระดับตํ่า อย่างไรก็ตาม ผู้บริโภคจะมีความ สัมพันธ์ และความภักดีต่อตราสินค้าในสินค้าที่มีความเกี่ยวพันสูงในระดับที่ตํ่ากว่าสินค้าประเภทที่มีความเกี่ยวพันตํ่า นอกจากนั้น ผู้บริโภคจะมีความสัมพันธ์กับตราสินค้าในรูปแบบที่แตกต่างกันหลากหลายรูปแบบ ทั้งรูปแบบของความสัมพันธ์ในระดับผิวเผิน และลึกซึ้ง เช่น ความสัมพันธ์แบบตามสะดวก แบบกลุ่มมิตรภาพที่ดีที่สุด แบบกลุ่มจอมบังคับ en_US
dc.description.abstractalternative The objectives of the current study were to explore the nature of the brandconsumer relationship and to describe the characteristics of the loyalty that consumers had with their brands. Forty-four consumers of Nokia and Ericsson mobile phones, and Nescafe and Moccona instant coffees were in-depth interviewed and participated in focus group discussion. It was found that the consumers had stronger relationship and higher level of loyalty with high-equity brands (i.e., Nokia and Nescafe) than with low-equity brands (i.e., Ericsson and Moccona). However, low-involvement product (i.e., instant coffee) generated stronger relationship and higher level of loyalty with their consumers than high-involvement product (i.e., mobile phone) did. Finally, various patterns were found in the brand-consumer relationship (e.g., marriages of convenience, best friendship, committed partnership, dysfunction, intimidation, distant respect) en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ชื่อตราผลิตภัณฑ์ en_US
dc.subject ความภักดีต่อชื่อตราผลิตภัณฑ์ en_US
dc.title การวัดคุณค่าตราสินค้าโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่าง ตราสินค้ากับผู้บริโภค en_US
dc.title.alternative Measuring brand equity from brand-consumer relationship en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline การโฆษณา en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Saravudh.A@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record