DSpace Repository

Developing a learning organization model via human resource development unit as an extension of higher education

Show simple item record

dc.contributor.advisor Pornchulee Achava-Amrung
dc.contributor.advisor Achara Chandrachai
dc.contributor.author Malee Dhamasiri
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Education
dc.date.accessioned 2020-12-08T02:25:09Z
dc.date.available 2020-12-08T02:25:09Z
dc.date.issued 2000
dc.identifier.isbn 9741303327
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71353
dc.description Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2000
dc.description.abstract The objectives of this research are: (1) to study and analyze theories, principles and practices regarding a learning organization. (2) to develop a learning organization model via HRD unit as an extension of higher education in facilitating characteristics of learning organization for Thai organizations. (3) to test the validity of the model by a case study in Thai Airways International Public Company Limited via Human Resource Development Department. Questionnaires used in the survey of 303 managerial staff regarding the opinions on current conditions and future expectations of their respective organizations, namely: Thai and multinational enterprises and higher education institutions in both public and private sectors regarding twelve sub-systems as follows: (1) vision and strategy (2) executive practices (3) managerial practices (4) climate (5) organizational and job structure (6) information flow (7) individual and team practices (8) work processes (9) performance goal and feedback (10) training and education (11) rewards and recognition (12) individual and team development. The questionnaire also inquires opinions regarding Thai characteristics supportive and non-supportive to becoming a learning organization. Results of the study indicated medium level in current state of LO in Thai organizations with high possibilities in the sub-system of vision and strategy. Moreover, Thai characteristics found to be supportive to LO were (1) adaptability according to time, place and opportunity; (2) purpose of education is know-how; (3) sensitivity to others' feelings. Non-supportive characteristics were (1) centralization-orientedness; (2) lack of initiatives; (3) unquestioned obedience and avoidance of responsibilities; (4) vicarious and unclear presentations A model of HRD as a change agent in developing a learning organization was henceforth proposed, comprising three main interrelated components, namely: (1) profile of twelve sub-systems within three dimensions --- leadership, job structure and systems, performance and development including supportive and non-supportive characteristics (2) HRD unit to design six courses composed of curricular and instruction for developing personal mastery, system thinking, team learning, mental models, shared vision, and leadership. These six courses consist of interpersonal skills, empowering employees, creative thinking and problem-solving, transformational leadership and thinking skills. Lastly, (3) leadership พนสำroles in stimulating, informing, demonstrating, training, helping, and nurturing these skills. Leadership was singled out as the most important facet in bringing about ongoing positive impacts towards learning organization. Subsequently, a curriculum from the model on transformational leadership was tried out with 24 managerial staff from Thai Airway International Public Company with the pre-test and post-test on their leadership transformational abilities towards LO outcomes indicated overall significant improvement at 0.1 level.
dc.description.abstractalternative การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาและวิเคราะห์ทฤษฎี หลักการ และการปฏิบัติเกี่ยวกับองค์การแห่งการเรียนรู้ (2) พัฒนารูปแบบองค์การแห่งการเรียนรู้ โดยผ่านหน่วยงานพัฒนาทรัพยากรบุคคลขององค์การของไทย (3) ทดสอบความเที่ยงตรง (Validity) ของรูปแบบองค์การแห่งการเรียนรู้ โดยใช้กรณีศึกษา บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) โดยผ่านกองการพัฒนาและฝึกอบรมทรัพยากรบุคคล แบบสอบถามที่ใช้ในการวิจัยสอบถามความคิดเห็นของผู้บริหารจำนวนรวม 303 คน ในองค์การและสถาบันอุดมศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชนเกี่ยวกับระบบย่อยต่าง ๆ ในองค์การ ซึ่งจะประเมินในด้านต่าง ๆ ดังต่อไปนี้คือ (1) วิสัยทัศน์และกลยุทธ์ขององค์การ (2) สิ่งที่ผู้บริหารระดับสูงปฏิบัติ (3) สิ่งที่ผู้บริหารระดับกลางและระดับต้นปฏิบัติ (4) บรรยากาศในการทำงาน (5) โครงสร้างองค์การและงานในองค์การ (6) การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร (7) การฝึกปฏิบัติด้วยตนเองและแบบเป็นทีม (8) กระบวนการทำงาน (9) เป้าหมายและผลในการปฏิบัติงาน (10) การฝึกอบรมและการศึกษา (11) ผลตอบแทนและการยกย่อง (12) การพัฒนาตนเองและทีมงาน แบบสอบถามยังครอบคลุมคุณลักษณะไทยที่เอื้อและไม่เอื้อต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ด้วย ผลของการวิจัยบ่งชี้ว่าสภาพปัจจุบันขององค์การไทย อยู่ในระดับความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ปานกลางและมีความเป็นไปได้สูงในระบบย่อยด้านวิสัยทัศน์และกลยุทธ์ นอกจากนั้น พบว่าลักษณะที่เอื้อต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ได้แก่ (1) ปรับตัวตามกาลเทศะและโอกาส (2) การเรียนรู้ว่าจะทำอะไร อย่างไร เพื่อบรรลุจุดประสงค์ของการศึกษา (3) ไวต่อความรู้สึกของผู้อื่น ลักษณะไทยที่ไม่เอื้อต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ได้แก่ (1) การนิยมการรวมอำนาจ (2) การปราศจาการริเริ่ม (3) ทำตามคำสั่งและหลีกเลี่ยงความรับผิดชอบ (4) ความอ้อมค้อมและไม่แสดงออกอย่างชัดเจน ผู้วิจัยได้นำเสนอแบบหน่วยพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในฐานะตัวการในการเปลี่ยนแปลงองค์การให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ อันประกอบด้วยองค์ประกอบหลักสามองค์ประกอบที่เกี่ยวเนื่องกันได้แก่ (1) ระบบย่อย 12 ระบบ ใน 3 มิติ คือ ความเป็นผู้นำ โครงสร้างและรบบงาน รวมทั้งผลการปฏิบัติ และพัฒนา รวมถึงลักษณะที่เอื้อและไม่เอื้อต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ (2) หน่วยพัฒนาที่จะต้องสร้างหลักสูตรและการสอนเพื่อพัฒนาความสามารถส่วนบุคคล การคิดเชิงระบบ การเรียนรู้เป็นทีม ภาพในใจและวิสัยทัศน์ร่วมและความเป็นผู้นำ โดยใช้ 6 หลักสูตร คือ ทักษะการสื่อสารระหว่างบุคคล การสร้างพลังอำนาจในพนักงาน ความคิดสร้างสรรค์และการแก้ปัญหา การพัฒนาความเป็นผู้นำเพื่อการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาทักษะการคิด และท้ายที่สุด บทบาทผู้นำในการกระตุ้นให้ข้อมูล สาธิต ฝึกฝน ช่วยเหลือ และปลูกฝังทักษะเหล่านี้ ความเป็นผู้นำมีความสำคัญเด่นชัด ก่อให้เกิดผลกระทบทางบวกอย่างต่อเนื่องสู่ความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ดังนั้น หลักสูตรหนึ่งจากรูปแบบคือ การพัฒนาความเป็นผู้นำเพื่อการเปลี่ยนแปลงจึงนำมาทดลองกับผู้บริหาร 24 คน จากบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) นอกจากการเปรียบเทียบการทดสอบก่อนการสอนและหลังการสอน ในความเป็นผู้นำเพื่อการเปลี่ยนแปลงพบว่าพัฒนาขึ้นอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ในภาพรวม
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.rights Chulalongkorn University
dc.subject Organizational learning -- Thailand
dc.subject Organizational change -- Thailand
dc.subject การเรียนรู้องค์การ -- ไทย
dc.subject การพัฒนาองค์การ -- ไทย
dc.subject ปริญญาดุษฎีบัณฑิต
dc.title Developing a learning organization model via human resource development unit as an extension of higher education
dc.title.alternative การพัฒนารูปแบบองค์การแห่งการเรียนรู้โดยฝ่านหน่วยพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในฐานะส่วนขยายของการอุดมศึกษา
dc.type Thesis
dc.degree.name Doctor of Philosophy
dc.degree.level Doctoral Degree
dc.degree.discipline Higher Education
dc.degree.grantor Chulalongkorn University


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record