DSpace Repository

ประสิทธิผลของสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อโน้มน้าวใจบุคลากรเอกชนให้มาบริจาคโลหิต

Show simple item record

dc.contributor.advisor ธนวดี บุญลือ
dc.contributor.author กรองทอง เพ็ชรวงศ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์
dc.date.accessioned 2021-03-05T09:06:40Z
dc.date.available 2021-03-05T09:06:40Z
dc.date.issued 2544
dc.identifier.isbn 9740309178
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72667
dc.description วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเนื้อหาสารที่นำเสนอในสื่อประชาสัมพันธ์ประเภทแผ่นพับ และโปสเตอร์ในการโน้มน้าวใจบุคลากรภาครัฐและเอกชน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษามีจำนวน 1,016 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสัมประสิทธิ์แบบเพียร์สัน ,t-test และ One-way ANOVA ซึ่งประมวลผลโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป SPSS ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ส่วนที่ 1 การวิเคราะห์เนื้อหาสื่อประชาสัมพันธ์ ที่เผยแพร่ในช่วงปี 2539-2543 ประกอบด้วยแผ่นพับ 34 แบบ และโปสเตอร์ 18 แบบ สรุปว่า สาระที่นำเสนอเน้นเรื่องความรู้เกี่ยวกับโลหิต โดยมีแนวคิดหลักคือ “โลหิตต้องมาจากการบริจาค ไม่มีการซื้อขาย” เน้นคุณสมบัติผู้บริจาคโลหิตที่มีคุณภาพ ประเด็นเนื้อหาเป็นการให้ข่าวสารข้อเท็จจริง และความรู้ รองลงมาเป็นการเสริมสร้างทัศนคติ และโน้มน้าวใจให้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ลักษณะของการโน้มน้าวใจโดยใช้แรงจูงใจด้วยการย้ำให้ปฏิบัติตาม และใช้เรื่องของบุญกุศลใช้คำพูดกินใจ และสโลแกน ส่วนรูปลักษณ์ของสื่อส่วนใหญ่จัดพิมพ์ 4 สี เพื่อความสวยงาม และดึงดูดใจ ขนาดที่จัดทำคือแผ่นพับจะใช้แบบ 3 และ 4 คอลัมน์ ส่วนโปสเตอร์ จัดพิมพ์ขนาด 15” x 21” ส่วนที่ 2 การวิจัยเชิงสำรวจ สรุปผลได้ดังนี้ 1. บุคลากรภาครัฐและเอกชนที่มีเพศ การศึกษา อาชีพต่างกัน เปิดรับสื่อประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการบริจาคโลหิตไม่ต่างกัน แต่กลุ่มตัวอย่างที่มีอายุ สถานภาพสมรส และรายได้ต่างกัน เปิดรับสื่อประชาสัมพันธ์แตกต่างกัน 2. บุคลากรภาครัฐและเอกชนที่มี เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ แตกต่างกันมีความรู้เรื่องการบริจาคโลหิตต่างกัน แต่ บุคลากรภาครัฐและเอกชนที่มีสถานภาพสมรสและรายได้เฉลี่ยต่างกัน มีความรู้เกี่ยวกับการบริจาคโลหิตไม่ต่างกันมีทัศนคติต่อการบริจาคโลหิตไม่ต่างกัน 4.บุคลากรภาครัฐและเอกชนที่มีเพศ สถานภาพสมรส ต่างกัน มีพฤติกรรมบริจาคโลกิตต่างกัน 5. การเปิดรับสื่อบุคคลมีความสัมพันธ์กับความรู้เรื่องการบริจาคโลหิต 6.การเปิดรับสื่อประชาสัมพันธ์ มีความสัมพันธ์กับทัศนคติต่อการบริจาคโลหิต 7.การเปิดรับมื่อบุคคล มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมบริจาคโลหิต 8.ความรู้เรื่องการบิจาคโลหิตไม่มีความสัมพันธ์กับทัศนคติเกี่ยวกับการบริจาคโลหิต 9.ความรู้เรื่องการบริจาคโลหิตมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมบริจาคโลหิต 10.ทัศนคติต่อการบริจาคโลหิต มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมบริจาคโลหิต en_US
dc.description.abstractalternative This research is to study the effectiveness of media e.g. leaflet and poster by means of content analysis and survey of 1,016 govemment and private office workers to investigate the investigate the relationship between media exposure, knowledge, attitude and blood donation. The Questionnaires were used to collect data. The data analysis was conducted by calculating T-test and One-way ANOVA. Findings: Part I The content analysis of 34 leaflets and 18 posters published during B.E 2539-2543 emphasized knowledge about blood with the concept “blood must come from voluntary donation only”. The qualifications of blood donors are also of main concem. The message were treated mostly fact and knowledge, attitude creation and persuaded to donate. The art of persuasion is to make believe that blood donation is good, charitable deed and make merit, using impressive word and slogan. The posters used attractive colors. The sizes are 3 or 4 columns for leaflet and 15”x21” of poster size. Part II Survey analysis 1. The office workers different in sex, educational background and occupation were not different in exposure to information media about blood donation whereas those with difference in age marital status and income were different in exposure. 2. The office workers different in sex, age, educational background and occupation were different in knowledge about blood donation whereas those different in marital status and average income had similar knowledge. 3. The office workers different in sex, age, marital status, educational, occupation and income had different attitude toward blood donation. 4. Those with different in sex and marital status had different inclination to blood donation but those different in age, educational, background, occupation and income had similar inclination. 5. Exposure to media was significantly related to knowledge on blood donation. 6. Exposure to media was significantly related to attitude on blood donation. 7. Exposure to media was significantly correlated to blood donation. 8. Knowledge about blood donation was not related to attitude toward blood donation. 9. Knowledge about blood donation was not related to attitude toward blood donation. 10. Attitude toward blood donation was related to blood donation. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การโน้มน้าวใจ (วาทวิทยา)
dc.subject การบริจาคโลหิต
dc.subject Persuasion (Rhetoric)
dc.subject Directed blood donations
dc.title ประสิทธิผลของสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อโน้มน้าวใจบุคลากรเอกชนให้มาบริจาคโลหิต en_US
dc.title.alternative Effectiveness of media used to promote blood donation among the government and private office workers en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline นิเทศศาสตรพัฒนาการ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record