DSpace Repository

การพัฒนามโนทัศน์เรื่องโมลและสูตรเคมีของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายด้วยการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมเป็นฐาน

Show simple item record

dc.contributor.advisor สลา สามิภักดิ์
dc.contributor.advisor ณัฐพงศ์ ไพบูลย์วรชาติ
dc.contributor.author ทินกร พันเดช
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
dc.date.accessioned 2021-05-03T07:59:08Z
dc.date.available 2021-05-03T07:59:08Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73246
dc.description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561 en_US
dc.description.abstract งานวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-Experimental Research) โดยมีรูปแบบ การวิจัยแบบ Two-Group Pretest-Posttest Design มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบมโน ทัศน์เรื่องโมลและสูตรเคมีระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนกลุ่มที่เรียนโดยใช้การเรียนรู้ ด้วยเกมเป็นฐาน 2) เปรียบเทียบมโนทัศน์เรื่องโมลและสูตรเคมีของนักเรียนระหว่างกลุ่มที่เรียน ด้วยการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานกับกลุ่มที่เรียนแบบทั่วไป กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 จํานวน 67 คน โดยนักเรียนจํานวน 35 คน เรียนด้วยการเรียนรู้ด้วยเกมเป็นฐาน และนักเรียนจํานวน 32 คน เรียนด้วยการเรียนรู้แบบทั่วไป เก็บข้อมูลโดยใช้แบบวัดมโนทัศน์ที่มี ลักษณะเป็นปรนัย 5 ตัวเลือก จํานวน 19 ข้อ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนกลุ่มที่เรียนโดยใช้การเรียนรู้ด้วยเกมเป็นฐานมีคะแนนมโน ทัศน์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักเรียนกลุ่มที่เรียนโดยใช้ การเรียนรู้ด้วยเกมเป็นฐานมีคะแนนมโนทัศน์เคมีเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่ากลุ่มที่เรียนรู้แบบทั่วไปอย่าง มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 en_US
dc.description.abstractalternative This study is a quasi-experimental research using Two-Group Pretest- Posttest design. The aims of this study were to 1) compare the scores of concept tests before and after a group of students have experienced game-based learning (GBL) on the topic of mole and chemical formula, and 2) compare these scores obtained by this group of students and those achieved by students who were instructed via a traditional method. 67 Grade 10 students were studied and divided into two groups: 35 of them learned the topic through GBL and the others through typical instructions. Mole and chemical formula concept tests were used to determine their concepts. Each test consists of 19 five-option multiple choice questions (MCQs) and different marks were allocated according to the conceptual understanding level of each possible answer. The data were analyzed by using an independent t-test. The findings revealed as follows: 1) When the students learned the topic 'mole and chemical formula' via GBL, the posttest concept scores were higher than the pretest at .05 level of significance. 2) The posttest scores achieved by this group of GBL students were higher than those obtained by the students who learned through traditional instructions, at .05 level of significance. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.728
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject วิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
dc.subject เคมี -- สูตรสมการ
dc.subject ความคิดรวบยอด
dc.subject Science -- Study and teaching (Secondary)
dc.subject Chemistry -- Notation
dc.subject Concepts
dc.title การพัฒนามโนทัศน์เรื่องโมลและสูตรเคมีของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายด้วยการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมเป็นฐาน en_US
dc.title.alternative Developing the upper secondary school students' mole and chemical formula concepts using game-based learning en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ครุศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline การศึกษาวิทยาศาสตร์ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.THE.2018.728


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record