DSpace Repository

โฆษณาที่ก่อให้เกิดความระคายเคืองและการหลีกเลี่ยงโฆษณาของผู้บริโภค

Show simple item record

dc.contributor.advisor วิฏราธร จิรประวัติ, ม.ล.
dc.contributor.author ชนะ ชาญชัยปิยะวงศ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์
dc.date.accessioned 2021-08-26T13:28:43Z
dc.date.available 2021-08-26T13:28:43Z
dc.date.issued 2550
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75250
dc.description วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับความระคายเคืองของสินค้าในโฆษณา รูปแบบการนำเสนอโฆษณา และสื่อที่มีโฆษณาที่ก่อให้เกิดความระคายเคืองในผู้บริโภค ที่มีลักษณะทางประชากรที่แตกต่างกัน 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงสินค้าในโฆษณา รูปแบบการนำเสนอโฆษณา และสื่อที่มีโฆษณาที่ก่อให้เกิดความระคายเคืองในผู้บริโภค ที่มีลักษณะทางประชากรที่แตกต่างกัน และ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระดับความระคายเคืองและพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงโฆษณา ที่ก่อให้เกิดความระคายเคืองในผู้บริโภค โดยได้ศึกษากับกลุ่มประชากรทั้งชายและหญิงที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร อายุระหว่าง 18-45 ปี จำนวนทั้งสิ้น 400 คน ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ปี พ.ศ. 2551 ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้บริโภคที่มีลักษณะทางประชากรที่แตกต่างกันจะมีความระคายเคืองต่อสินค้าในโฆษณา รูปแบบการนำเสนอ และสื่อที่มีโฆษณาที่ก่อให้เกิดความระคายเคืองแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2) ผู้บริโภคที่มีลักษณะทางประชากรที่แตกต่างกันจะมีพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงสินค้าในโฆษณา รูปแบบการนำเสนอ และสื่อที่มีโฆษณาที่ก่อให้เกิดความระคายเคืองแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3) ความระคายเคืองของผู้บริโภคมีความสัมพันธ์ในเชิงบวก กับพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงโฆษณาของผู้บริโภค en_US
dc.description.abstractalternative To measure the effects of using different types of offensive product, execution and media in advertising on consumers’ degree of offensiveness and degree of advertising avoidance and to find a correlation of offensiveness and avoidance. Data collection for the study was done in February, 2008 using questionnaires with 400 samples of male and female, aged 18-45, lived in Bangkok. The findings illustrated that. 1) Consumers with different demographic factors were differently offended by types of offensive product, execution and media significantly at 0.05. 2) Consumers with different demographic factors differently avoided types of offensive product, execution and media significantly at 0.05. 3) Advertising offensiveness had a positive correlation with advertising avoidance. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.title โฆษณาที่ก่อให้เกิดความระคายเคืองและการหลีกเลี่ยงโฆษณาของผู้บริโภค en_US
dc.title.alternative Offensive advertising and consumer's advertising avoidance en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline การโฆษณา en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record