DSpace Repository

การพัฒนาเกณฑ์ความสามารถด้านสมิทธิภาพทั่วไปทางภาษาอังกฤษ สำหรับนักศึกษาไทยและบุคคลทั่วไป

Show simple item record

dc.contributor.author สุพัฒน์ สุกมลสันต์
dc.contributor.author กรองแก้ว กรรณสูต
dc.contributor.author ศิริพร พงษ์สุรพิพัฒน์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันภาษา
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันภาษา
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันภาษา
dc.date.accessioned 2006-07-13T03:35:45Z
dc.date.available 2006-07-13T03:35:45Z
dc.date.issued 2541
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/757
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลักคือ เพื่อสร้างและพัฒนาเกณฑ์ความสามารถด้านสมิทธิภาพทั่วไปทางภาษาอังกฤษสำหรับนักศึกษาไทยและบุคคลทั่วไป ด้านการฟังเข้าใจความ การอ่านเข้าใจความ และการเขียน ประชากรได้แก่นิสิต/นักศึกษาไทยและประชาชนทั่วไปจำนวนไม่จำกัด ที่สนใจมารับบริการการทดสอบแบบทดสอบสมิทธิภาพทั่วไปทางภาษาอังกฤษของสถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และพลวิจัย ได้แก่ บุคคลดังกล่าวที่สมัครมาสอบแบบทดสอบชุด 7, 8 และ 9 ซึ่งใช้เป็นเครื่องมือสำหรับการวิจัยครั้งนี้ จำนวน 495ม 1823 และ 1037 คนตามลำดับ ในช่วงปี พ.ศ. 2537-2538 การวิเคราะห์ข้อมูลอาศัยโปรแกรม CTIA/Grading และ Tasch เพื่อหาความยกรายข้อของแบบทดสอบ และการกระจายของตัวแปรในการวัด ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. แบบทดสอบแต่ละทักษะสามารถแบ่งออกเป็นเกณฑ์ความสามารถได้ 5 ระดับ คือ 2) ระดับความสามารถจำกัดมาก 3) ระดับความสามารถต่ำสุดที่พอใช้งานได้ 4) ระดับความสามารถปานกลาง 5) ระดับความสามารถดี และ 6) ระดับความสามารถดีมาก 7. คะแนนเกณฑ์ระดับความสามารถรวมแต่ละทักษะของแบบทดสอบทุกชุดมี 5 ระดับ เช่นเดียวกัน และในแต่ละระดับทีคะแนนเทียบเท่าคะแนน TOEFL ที่แตกต่างกัน 8. เกณฑ์รวมความสามารถด้านฟังความเข้าใจความ และด้านการอ่านเข้าใจความมี 5 ระดับเช่นเดียวกัน แต่ไม่สามารถวิเคราะห์หาเกณฑ์รวมด้านการเขียนได้ en
dc.description.abstractalternative The main purpose of this study was to construct and develop the criteria for general English proficiency ability of ability bands for Thai students and the general public for listening comprehension, reading comprehension and writing. The population was indefinite numbers of Thai students and interested persons who were eligible to take the CU-TEP (Chulalongkorn University Test of English Proficiency) Forms 7, 8 or 9. The subjects were 495, 1823 and 1037 testees who took the CU-TEP Forms 7, 8 and 9 respectively during the years 1994-1995. The data were then analyzed by means of CTIA/Grading and Rasch programs to find their item difficulty indices and maps of variables. The findings can be summarized as follows: 1. The general English proficiency ability bands of Thai students and the general public could be categorized into 5 levels, viz 1) Extremely Limited, 2) Marginal, 3) Moderate, 4) Competent and 5) Very good. 2. Composite ability scores for the ability bands could also be categorized into 5 levelsas mentioned above and could be equated with TOEFL scores. 3. Composite ability bands for the listening comprehension and reading comprehension skills could also be categorized into 5 levels as mentioned above, but such bands could not be constructed for the writing skill. en
dc.format.extent 38192539 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th en
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject ภาษาอังกฤษ--การทดสอบความสามารถ en
dc.subject ภาษาอังกฤษ--แบบทดสอบ en
dc.subject ภาษาอังกฤษ--การวัดผล en
dc.title การพัฒนาเกณฑ์ความสามารถด้านสมิทธิภาพทั่วไปทางภาษาอังกฤษ สำหรับนักศึกษาไทยและบุคคลทั่วไป en
dc.title.alternative Ability band development for general English proficiency of Thai students and general public
dc.type Technical Report en
dc.email.author siriporn.p@chula.ac.th
dc.email.author suphat.s@chula.ac.th
dc.email.author kronggaew@yahoo.com
dc.email.author siriporn.p@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record