DSpace Repository

การแปลคู่มือทดลองระบบฟีดแบ็กสื่อสารโทรคมนาคมอิเล็กทรอนิกส์

Show simple item record

dc.contributor.advisor ปรีมา มัลลิกะมาส
dc.contributor.author ไพบูลย์ แตรศิริพงศ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์
dc.date.accessioned 2022-06-27T12:52:57Z
dc.date.available 2022-06-27T12:52:57Z
dc.date.issued 2549
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79001
dc.description สารนิพนธ์ (อ.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 en_US
dc.description.abstract สารนิพนธ์ฉบับนี้เป็นงานวิจัยต่อเนื่องจากโครงการแปลคู่มือการใช้เครื่องพิมพ์คอมพิวเตอร์ชนิดจุดแมทริกซ์ของเอ็ปสันรุ่นแอลคิว 1500 ที่ผู้แปลได้ศึกษาและทำการแปล ในการศึกษาครั้งนี้มุ่งวิเคราะห์เพื่อหาแนวทางตามหลักทฤษฎีและวิธีในทางปฏิบัติ การหารูปแบบการแปล รวมทั้งเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาในการแปลคู่มือทดลองอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ สาขาวิชาโทรคมนาคม โดยตัวบทกล่าวถึงหลักการ ทฤษฎีวิทยาศาสตร์ในเชิงคณิตศาสตร์ การดำเนินการทดลอง ตลอดจนข้อพึงระมัดระวังเช่นคำสั่งห้าม หรือคำแนะนำที่พึงปฏิบัติทั้งในระหว่างการทดลอง ก่อนและหลังจากการทดลองเสร็จสิ้นลงแล้ว แนวคิดและทฤษฏีที่นำมาใช้กำหนดรูปแบบในการแปล ครอบคลุมถึงการแก้ปัญหาที่พบในการแปลตัวบท คือ ทฤษฎีวากรรมวิเคราะห์ ทฤษฎีวัจนกรรม ทฤษฏีสโกโพส แนวความคิดเล็คซิโค-แกรมม่าร์และการสร้างคำของฮาล์ลิเดย์ และทฤษฎีซีนแอนด์ เฟรม แนวทางการแปลที่ใช้กับตัวบทประเภทนี้ คือการแปลโดยยึดความหมายเป็นหลักจากการประยุกต์ใช้ทฤษฎีต่าง ๆ ข้างต้น โดยเฉพาะบางทฤษฎีหรือหลายทฤษฎีประกอบกัน ขึ้นกับบริบท ความหมาย และลีลาภาษาของผู้เขียน และเนื่องจากตัวบทสะท้อนปรากฏการณ์และสิ่งที่มีอยู่จริง ทฤษฎีซีน-แอนด์-เฟรม จึงมีบทบาทอย่างมากในกระบวนการแปล เพราะช่วยให้ผู้แปลใช้ทั้งประสบการณ์ร่วมกับผู้เขียนในแวดวงวิชาชีพวิศวกรรมสื่อสารโทรคมนาคม และการค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมมาประมวลร่วมกับบริบทแวดล้อมในเรื่องที่มีความแตกต่างทางสังคมและวัฒนธรรมของต้นฉบับ และในการเติมภาพตามรูปภาษาของต้นฉบับ เพื่อให้เกิดภาพที่ผู้แปลจะสรรหาโครงสร้างและรูปภาษาปลายทาง ที่จะถ่ายทอดความหมายให้เทียบเคียงกับต้นฉบับ en_US
dc.description.abstractalternative This special research was conducted as an extension of the former project in which the researcher had translated the manual of a dot-matrix computer printer, model LQ1500 from English to Thai. It aims at the analysis to find a method and form of translation following the theories and practical approaches, as well as proposing the keys to solve problems of translating a technical manual for telecommunication experimentation. Most of the contexts are related to the principles, mathematical and scientific theories, testing procedures, and the precautions such as the error protections upon human beings and the objects throughout the experiment or test. The concepts and theories applied to select the form of translation cover the problem solving found during the translation. They are Discourse analysis, Speech Act Theory, Skopos Theory, Concepts of Halliday’s Lexico-Grammar and Wordings, and the Theory of Scenes-and-Frames. The constructive approach to translate this special pragmatic text is to focus on the meaning by applying one theory or another combination of various theories to deal with the situational context and writers’ styles, as appropriate. Because of the practical environments and existing equipment conditions, Scenes-and-Frames Semantics play an important role in the translation process. Not only does the theory facilitate the translator to recall the joint experience with the writer regarding what is going on in the world of technical experimentation, but also helps to comprehend any frames of beliefs and social contexts of the source texts after additional information is acquired. When the frames are clarified, exact pictures are created; the translator can carefully select the Thai word or phrase to get an exact meaning of the source language: English and vice versa. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject เครื่องมือวิทยาศาสตร์ -- คู่มือ -- การแปล en_US
dc.subject ภาษาอังกฤษ -- การแปล en_US
dc.subject Scientific apparatus and instruments -- Handbooks, manuals, etc. -- Translations en_US
dc.subject English language -- Translations en_US
dc.title การแปลคู่มือทดลองระบบฟีดแบ็กสื่อสารโทรคมนาคมอิเล็กทรอนิกส์ en_US
dc.type Independent Study en_US
dc.degree.name อักษรศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline การแปลและการล่าม en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Prima.M@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record