dc.contributor.advisor |
Pacharasut Sujarittanonta |
|
dc.contributor.author |
Piyapat Rujiphoch |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Economics |
|
dc.date.accessioned |
2022-07-23T05:40:55Z |
|
dc.date.available |
2022-07-23T05:40:55Z |
|
dc.date.issued |
2020 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80333 |
|
dc.description |
Independent Study (M.A.)--Chulalongkorn University, 2020 |
|
dc.description.abstract |
Developing human capital, fundamentally in science, technology, engineering, and mathematics (STEM), is perceived as crucial growth engine among emerging economies for encouraging R&D and escalating the third world economy status and developing nations out of the “middle income trap. Nevertheless, it is obscure whether what the Government view on investing intensively on STEM-related factors to drive the economy is sufficient. Rather than merely invest in human capital in STEM education, a number of domestic investment, the Government spending on Science and technology, invention patent, Foreign Direct Investment, and Thai global competitiveness rank should also be embraced and taken in to consideration. The result revealed that adding 1 additional unit of GCF in Thailand is predicted to cause 1.8 unit increase in GDP. Enhancing 1 more unit in Research and development budget from the Government is forecasted to result in 9.1 in GDP and increasing 1 more unit of Stem labor force per 10,000 people employed contributes to 301.2 unit increase in GDP. On the other hand, the number of patent on invention, Foreign Direct investment, and Thailand global competitiveness rank are statistically insignificant to be incorporated in the model. |
|
dc.description.abstractalternative |
การพัฒนาทุนมนุษย์โดยพื้นฐานในด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์(สะเต็ม) ได้รับการรับรู้ท่ามกลางเหล่าประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ ว่าเป็นเครื่องจักรในการเติบโตที่สำคัญยิ่ง ในการสนับสนุนส่งเสริม การวิจัยและการพัฒนา ตลอดจนการยกระดับสถานะเศรษฐกิจของประเทศโลกที่สาม และ การพัฒนาประเทศให้หลุดพ้นจากกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง อย่างไรก็ตามจากมุมมองของรัฐบาล มันยังคลุมเครือว่าการลงทุนอย่างมากในปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสะเต็มนั้นจะเพียงพอที่ใช้ขับเคลื่อนเศรษฐกิจหรือไม่ แทนที่จะลงทุนเพียงแค่ในทุนมนุษย์เกี่ยวข้องกับการศึกษาด้านสะเต็ม ปัจจัยทางด้านการลงทุนภายในประเทศที่มากมาย การใช้จ่ายภาครัฐในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สิทธิบัติการประดิษฐ์ การลงทุนทางตรงจากต่างประเทศ และอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย ควรถูกนำรวมเข้ามาพิจารณาด้วย รายงานการศึกษาฉบับนี้ประเมินผลกระทบของ การสะสมทุนเบื้องต้น งบประมาณรัฐบาลในการวิจัยและพัฒนาทางด้านวิทยาศาสตร์ จำนวนของสิทธิบัตรสิ่งประดิษฐ์ที่จดทะเบียนในประเทศไทย แรงงานด้านสะเต็ม และอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย ต่อ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ตั้งแต่ปี 2552-2561 ตัวแปรอิสระทั้งหกนี้ ถูกใช้เป็นพื้นฐานสำกรับศักยภาพแรงงาน ความสามารถของชาติ นวัตกรรมและการลงทุนภายในประเทศ ตลอดจนผลผลิตของประเทศ บนพื้นฐานหลักการของฟังก์ชั่นการผลิตสะสมแบบคอบบ์- ดักลาส ด้วยการใช้ตัวแปรทั้งหกนี้ ข้าพเจ้าตั้งสมมติฐาน และทดสอบสหสัมพันธ์ที่มีพื้นจากข้อสมมติฐาน หลังจากนั้น ข้าพเจ้าสร้างสมการถดถอยที่ประยุกต์ใช้ วิธีกำลังสองน้อยสุด เพื่อเลือกตัวแปรที่ผ่านการทดสอบที่จะเป็นตัวแปรที่เหมาะสมกับตัวแบบ สุดท้ายข้าพเจ้าแสดงปริมาณผลกระทบและผลลัพธ์ของแต่ละตัวแปรอิสระที่เลือกต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมประเทศ ผลลัพธ์แสดงว่า การเพิ่มขึ้น 1 หน่วยของ การสะสมทุนเบื้องต้น ในประเทศไทยทำนายการเพิ่มขึ้น 1.8 หน่วยของ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ การเพิ่มขึ้น 1 หน่วยของ งบประมาณด้านการวิจัยและพัฒนาจากรัฐบาล คาดการณ์การเพิ่มขึ้น 9.1 หน่วยของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ และการเพิ่มขึ้น 1 หน่วยของแรงงานด้านสะเต็มต่อทุก 10,000 แรงงานที่ได้รับการว่าจ้าง ก่อให้เกิดการเพิ่มขึ้น 301.2 หน่วยของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ในทางกลับกัน จำนวนของสิทธิบัตรการประดิษฐ์ การลงทุนทางตรงจากต่างประเทศ และอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย ไม่สำคัญอย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติในการนำมารวมในตัวแบบ ผลลัพธ์จากการศึกษานี้สามารถมีประโยชน์ต่อผู้วางนโยบายของชาติ ในการตัดสินใจว่า ทิศทางการศึกษาของชาติ การลงทุนภายในประเทศ แผนแม่บทยุทธศาสตร์ชาติ แบบใดที่ควรถูกนำมาใช้เพื่อเอาชนะสถานะการเป็นประเทศกำลังพัฒนา และกลายเป็น ประเทศที่พัฒฒนาแล้วภายในเส้นเวลาที่ได้ถูกวางแผนไว้ |
|
dc.language.iso |
en |
|
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2020.39 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
|
dc.subject.classification |
Economics |
|
dc.title |
The impact of stem workforce, gross capital formation, government budget in scientific research and development, patent on invention, foreign direct investment and global competitiveness rank of the nation on Thailand GDP during 2009 and 2018 |
|
dc.title.alternative |
ผลกระทบของแรงงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การสะสมทุนเบื้องต้น งบประมาณรัฐบาลในด้านการวิจัยและพัฒนทางวิทยาศาสตร์ สิทธิบัติการประดิษฐ์ การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ อันดับความสามารถในการแข่งขันระดับโลก ต่อ ผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศไทย ระหว่างปี 2552-2561 |
|
dc.type |
Independent Study |
|
dc.degree.name |
Master of Arts |
|
dc.degree.level |
Master's Degree |
|
dc.degree.discipline |
Business and Managerial Economics |
|
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.IS.2020.39 |
|