DSpace Repository

ความเชื่อ ทัศนคติต่อโฆษณา และพฤติกรรมการหลีกเลื่ยงโฆษณาของผู้บริโภค ที่มีต่อโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อกระจายเสียง

Show simple item record

dc.contributor.advisor วิฏราธร จิรประวัติ, ม.ล.
dc.contributor.author เอกกมล พวงเกษม
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์
dc.date.accessioned 2006-07-22T05:21:38Z
dc.date.available 2006-07-22T05:21:38Z
dc.date.issued 2545
dc.identifier.isbn 9741725477
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/957
dc.description วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 en
dc.description.abstract ศึกษาและเปรียบเทียบความเชื่อ ทัศนคติ และพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงโฆษณา ของผู้บริโภคที่มีต่อโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์และโฆษณาในสื่อกระจายเสียง และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อ ทัศนคติ และพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงโฆษณาของผู้บริโภคที่มีต่อโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์ และโฆษณาในสื่อกระจายเสียง โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจโดยมีแบบสอบถาม เป็นเครื่องมือกับผู้บริโภคเพศชายและหญิง อายุ 16-45 ปี ที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) ความเชื่อต่อโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อกระจายเสียงของผู้บริโภค มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยผู้บริโภคมีความเชื่อต่อโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์ดีกว่าโฆษณาในสื่อกระจายเสียง 2) ทัศนคติต่อโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อกระจายเสียงของผู้บริโภค มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยผู้บริโภคมีทัศนคติต่อโฆษณาในสื่อกระจายเสียงดีกว่าโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์ 3) พฤติกรรมการหลีกเลี่ยงโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อกระจายเสียงของผู้บริโภค มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยผู้บริโภคมีพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงโฆษณาในสื่อกระจายเสียง มากกว่าโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์ 4) ความเชื่อต่อโฆษณาและทัศนคติต่อโฆษณา ของผู้บริโภคที่มีต่อโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อกระจายเสียง มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 5) ความเชื่อต่อโฆษณา และพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงโฆษณาของผู้บริโภค ที่มีต่อโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อกระจายเสียง มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 6) ทัศนคติต่อโฆษณา และพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงโฆษณาของผู้บริโภค ที่มีต่อโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อกระจายเสียง มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 7) ความเชื่อต่อโฆษณาและทัศนคติต่อโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์ของผู้บริโภค สามารถร่วมกันอธิบายพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์ของผู้บริโภคได้ 12% อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 8) ความเชื่อต่อโฆษณาและทัศนคติต่อโฆษณาในสื่อกระจายเสียงของผู้บริโภค สามารถร่วมกันอธิบายพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงโฆษณา ในสื่อกระจายเสียงของผู้บริโภคได้ 7% อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 en
dc.description.abstractalternative To 1) study and compare consumer's beliefs, attitude toward advertising and advertising avoidance in print and broadcast media and 2) study correlations between consumer's beliefs, attitude toward advertising and advertising avoidance in print and broadcast media. This survey research was conducted using questionnaires with 400 samples, male and female, aged 16-45, living in Bangkok. Results were as follows 1) Consumer's beliefs toward advertising in print and broadcast media were significantly different at 0.05. Consumer's beliefs toward advertising in print media were better than that in broadcast media. 2) Consumer's attitude toward advertising in print and broadcast media were significantly different at 0.05. Consumer{7f2019}s attitude toward advertising in broadcast media were better than that in print media. 3) Consumer's advertising avoidance in print and broadcast media were significantly different at 0.05. Consumer's advertising avoidance in broadcast media were higher than that in print media. 4)Consumer's beliefs and attitude toward advertising in print and broadcast media were significantly correlated at 0.05. 5) Consumer's beliefs toward advertising and advertising avoidance in print and broadcast media were significantly correlated at 0.05. 6) Consumer's attitude toward advertising and advertising avoidance in print and broadcast media were significantly correlated at 0.05. 7) Consumer's beliefs and attitude toward advertising can be jointly explained advertising avoidance in print media equal 12% by significantly at 0.05. 8) Consumer's beliefs and attitude toward advertising can be jointly explained advertising avoidance in broadcast media equal 7% by significantly at 0.05. en
dc.format.extent 1716853 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th en
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2002.493
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject โฆษณาทางหนังสือพิมพ์ en
dc.subject โฆษณาทางวารสาร en
dc.subject โฆษณาทางวิทยุ en
dc.subject โฆษณาทางโทรทัศน์ en
dc.subject พฤติกรรมผู้บริโภค en
dc.subject ทัศนคติ en
dc.title ความเชื่อ ทัศนคติต่อโฆษณา และพฤติกรรมการหลีกเลื่ยงโฆษณาของผู้บริโภค ที่มีต่อโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อกระจายเสียง en
dc.title.alternative Consumer's beliefs, attitudes toward advertising and advertising avoidance in print and broadcast media en
dc.type Thesis en
dc.degree.name นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต en
dc.degree.level ปริญญาโท en
dc.degree.discipline การโฆษณา en
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor Vittratorn.C@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2002.493


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record