Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12711
Title: Modeling demand for Thai national park ecotourism : a GIS-linked spatial dependent model for Phu Jong Na Yoi National Park, Ubon Ratchathani, Thailand
Other Titles: การสร้างสมการอุปสงค์ของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในอุทยานแห่งชาติภูจองนายอย จังหวัดอุบลราชธานี ของประเทศไทย โดยการใช้สารสนเทศทางภูมิศาสตร์เชื่อมโยงความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ของตัวแปร
Authors: Boonchauy Boonmee
Advisors: Charit Tingsabadh
Sitanon Jesdapipat
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Economics
Advisor's Email: Charit.T@Chula.ac.th
Sitanon.J@Chula.ac.th
Subjects: Geographic information systems
Ecotourism
Ecotourism -- Supply and demand
Phu Jong Na Yoi National Park
Issue Date: 2006
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The objectives of this research are 3 folds (i) it is to investigate the role of GIS linked spatial dependence and other factors that affect ecotourism demand in Phu Jong Na Yoi National Park, Ubon Ratchathani, Thailand.(ii) it attempts to estimate a recreational demand model for the park by using GIS as a tool to support the hypothesis that spatial dependence the estimated conventional recreation demand for ecotourism in the park. (iii) the study measures the economic value of the use of national resources in the park to provide tourism benefits for visitors. Data were collected in 2005 and 2006 by using a designed questionnaire from a sample of 620 park visitors. Twenty five park officers were also interviewed. The results show that GIS can be used to create a distance weight to be used in estimating the Travel Cost Model. The estimate spatial autoregressive model shows validity and robustness with the significant R2 and F Values at 95% confidence interval. The estimated model is used to evaluate the economic value of the park tourism. The estimated park consumer surplus is around 56.29 baht per person or 1.89 million baht per year.
Other Abstract: การศึกษาการสร้างสมการอุปสงค์ของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ในอุทยานแห่งชาติของประเทศไทย ที่อุทยานแห่งชาติภูจองนายอย จังหวัดอุบลราชธานี มีวัตถุประสงค์ 3 ประการคือ 1) เพื่อประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS) เชื่อมโยงความสัมพันธ์เชิงพื้นที่กับปัจจัยอื่นที่มีผลกระทบต่ออุปสงค์ของการท่องเที่ยวในอุทยาน 2) เพื่อกะประมาณแบบจำลองสมการอุปสงค์ของการท่องเที่ยวในอุทยาน ด้วยการใช้ GIS สนับสนุนสมมุติฐานที่ว่าความสัมพันธ์เชิงพื้นที่มีอิทธิพลต่อการกะประมาณสมการอุปสงค์แบบเดิม (conventional recreational demand) 3) เพื่อประมาณค่าทางเศรษฐกิจจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติของอุทยาน เพื่อประโยชน์ของนักท่องเที่ยวโดยใช้การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากนักท่องเที่ยวจำนวน 620 คน และสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ของอุทยาน 25 คน ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า GIS สามารถใช้คำนวณหาค่าถ่วงน้ำหนักโดยการวัดระยะทาง และใช้กะประมาณแบบจำลองอุปสงค์ของการท่องเที่ยวด้วยวิธี Travel cost model และพบว่าการใช้การถ่วงน้ำหนักแบบระยะทางถดถอย ซึ่งอาศัยการวัดระยะทางด้วยการคำนวณทางแผนที่ภูมิศาสตร์ร่วมกับวิธีการ Spatial autoregressive ช่วยทำให้สมการอุปสงค์น่าเชื่อถืออย่างมีนัยสำคัญทางสถิติมากขึ้น โดยมีค่า R2 และ F-value ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ในการนำไปใช้พยากรณ์ และสมการที่ได้นำไปใช้ประมาณมูลค่าของการท่องเที่ยวในอุทยาน จากการประเมินพบว่ามีค่าประมาณ 56.29 บาทต่อคน หรือประมาณ 1.89 ล้านบาทต่อปี
Description: Thesis (Ph.D. Econ.)--Chulalongkorn University, 2006
Degree Name: Doctor of Philosophy
Degree Level: Doctoral Degree
Degree Discipline: Economics
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12711
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1831
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2006.1831
Type: Thesis
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
boonchauy_bo.pdf7.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.