Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22637
Title: ผลของสิ่งตอนแทนที่มีต่ออัตราการตอบแบบสอบถามที่ส่งทางไปรษณีย์
Other Titles: Effects of reward upon response rates form mailed questionnaires
Authors: อัญชลี คงมั่น
Advisors: สมหวัง พิธิยานุวัฒน์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Issue Date: 2523
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาถึงการเพิ่มอัตราการกลับของแบบสอบถามที่ส่งทางไปรษณีย์ โดยการให้สิ่งตอบแทน และ ชนิดของการส่งโดยไปรษณียที่แตกต่างกันซึ่งได้แก่ การลงทะเบียน และไปรษณีย์ธรรมดา ผู้วิจัยได้ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยแบบทดลองใช้กลุ่มตัวอย่างเป็ฯครู อาจารย์ทำการสอนอยู่ในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาสายสามัญสังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ที่อยู่ในเขตกรุ่งเทพมหานคร จำนวน 420 คน ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถาม แล้วคำนวณหาความแตกต่งของอัตราการตอบกลับของแบบสอบถามระหว่างกลุ่มที่ได้รับสิ่งตอบแทนกลุ่มต่างๆ กันกลุ่มที่ไม่ได้รับ สิ่งตอบแทน และระหว่างกลุ่มที่ส่งไปรษณีย์ลงทะเบียนธรรมดา โดยใช้การทดสอบสถิติค่าซี (Z-test) 1. การให้สิ่งตอบแทนแก่ผู้ตอบแบบสอบถาม ทำให้ได้รับอัตราการตอบ 2. การให้สิ่งตอบแทนแก่ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นหนังสือการประเมิทางการศึกษาในระยะแรก ทำให้ได้รับอัตราการตอบกลับของแบบสอบถามที่ส่งทางไปรษณีย์สูงกว่าง การให้สิ่งตอบแทนแก่ผู้ตอบแบบสอบถามในระยะที่สอง และระยะที่สาม และสูงกว่าการให้คำสัญญาเรื่องการส่งบทคัดย่องานวิจัยให้เมื่อการวิจัยเสร็จสิ้นลง 3. การให้สิ่งตอบแทนแก่ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นหนังสือการประเมินทางการศึกษา โดยส่งให้พร้อมกับแบบสอบถามและจดหมายติดตามในระยะที่ 2 และระยะที่ 3 กับการสัญญาเรื่องการส่งบทคัดย่องานวิจัย ทำให้ได้รับอัตราการตอบกลับของแบบสอบถามที่ส่งทางไปรษณีย์ไม่แตกต่างกันที่ระดับ .05 4. การให้สิ่งตอบแทนแก่ผู้ตอบแบบสถอบถามเป็นหนังสือการประเมินทางการศึกษาในระยะที่ 2 และระยะที่ 3 ทำให้อัตราการตอบกลับของแบบสอบถามที่ส่งทางไปรษณีย์ ไม่แตกต่างทกันที่ระดับ .05 5.การส่งแบบสอบถามโดยไปรษณีย์ลงทะเบียน และโดยไปรษณีย์ธรรมดทำให้อัตราการตอบกลับไม่แตกต่างกันที่ระดับ .05
Other Abstract: The major purpose of this research was to study the effects of rewards upon the increase rates of response from mailed questionnaires, by sending rewards and two types of mailing system e.g. registered and nonregistered. The experimental design was employed in this research. The sample consisted of 420 secondary school teachers in Metropolitan Bangkok. The mailed questionnaires returned were analyzed, by means of the Z-test. Major findings were: 1. The questionnaires sent out with a reward complied higher response rates than the group which did not send out reward. 2. The questionnaires sent out with a book on Educational Evaluation in the first mailing period complied the higher response rates than the groups those sent out the books in the second and third mailing period, and the group which was promised sending research abstract. 3. The response rates between the group which sent out a book in the second and third mailing period, and the group which was promised sending out an abstract did not-differ significantly at .05 level. 4. The response rates between the group which sent out a book in the second and the third mailing period did not differ significantly at .05 level. 5. The response rates between the registered mailing group and the nonregistered mailing group did not differ significantly at .05 level.
Description: วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2523
Degree Name: ครุศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิจัยการศึกษา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22637
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
anchalee_ko_front.pdf377.48 kBAdobe PDFView/Open
anchalee_ko_ch1.pdf564.75 kBAdobe PDFView/Open
anchalee_ko_ch2.pdf665.53 kBAdobe PDFView/Open
anchalee_ko_ch3.pdf500.7 kBAdobe PDFView/Open
anchalee_ko_ch4.pdf328.22 kBAdobe PDFView/Open
anchalee_ko_ch5.pdf402.27 kBAdobe PDFView/Open
anchalee_ko_back.pdf675.08 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.