Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23021
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริจันทร์ ทองประเสริฐ-
dc.contributor.advisorสุทัศน์ รัตนเกื้อกังวาน-
dc.contributor.authorไพบูลย์ วิชาชัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-11-01T16:51:28Z-
dc.date.available2012-11-01T16:51:28Z-
dc.date.issued2526-
dc.identifier.isbn9745630543-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23021-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526en
dc.description.abstractอุตสาหกรรมประกอบรถยนต์ในประเทศไทยในปัจจุบัน ได้รับการพัฒนาอย่างสูงทางด้านเทคโนโลยีสมัยใหม่ และการพัฒนากำลังคนให้มีประสิทธิภาพ ทั้งยังเป็นอุตสาหกรรมที่ใช้คนงานประเภทช่วงฝีมือ และช่างเทคนิคเป็นจำนวนมาก ทั้งนี้การผลิตมีวิศวกรควบคุมอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งประมาณได้ว่าจำนวนพนักงานในระดับต่างๆ ในอุตสาหกรรมประกอบรถยนต์มีมากกว่า 4,000 คน แต่การวิเคราะห์การใช้บุคลากรในระดับต่างๆ ได้แก่ วิศวกร ช่างเทคนิค ยังไม่แน่ชัด ไม่สามารถรู้ได้ว่ามีความต้องการบุคลากรในระดับต่างๆ จำนวนเท่าเท่าใด และสัดส่วนการกำหนดบุคลากรในสายงานประกอบรถยนต์ที่เหมาะสมเป็นเท่าใด วัตถุประสงค์ของการทำวิทยานิพนธ์ฉบับนี้คือ ศึกษา และวิเคราะห์การใช้บุคลากรในสายการผลิต ในอุตสาหกรรมประกอบรถยนต์เพื่อเป็นแนวทางที่จะพัฒนาอุตสาหกรรมประกอบรถยนต์ให้มีประสิทธิภาพ จากการวิจัยพบว่ากำลังคนในสายงานประกอบรถยนต์ในปัจจุบันแบ่งตามลำดับต่างๆ ได้ดังนี้ -วิศวกร 150 คน – ช่างเทคนิค 697 – คนงาน 2,764 คน โดยสัดส่วนกำลังคนระดับวิศวกร ต่อ ช่างเทคนิค ต่อ คนงาน เท่ากับ 1 : 4.64 : 18.42 หลังจากได้มีการจัดกำลังคนในสายงานประกอบรถยนต์ใหม่จะพบว่า สามารถลดคนงานลงได้ร้อยละ 51.89 โดยมีสัดส่วนกำลังคนใหม่เท่ากับ 1 : 4.64 : 10.24 นอกจากนั้นการวิจัยได้วิเคราะห์หาดัชนีที่เหมาะสมสำหรับการกำหนดบุคลากรในสายการผลิตในอนาคตโดยใช้ทฤษฏีลูกโซ่มาร์คอฟ (Markov Chain) พบว่าสัดส่วนกำลังคนในอนาคตเท่ากับ 1 : 4.52 : 13.12
dc.description.abstractalternativeCar industry in Thailand has-made great advances in both technology and workmanship for the recent years. since the Industry requires a large number of man-power namely workmen, technicians and engineers, the numbers could be totaled up to 4,000 or more than that, in a factory. It is, how¬ever, still a querry to tell the exact number and ratio of personnels needed. The objective of this thesis is to provide some data and analysis in personnels needed on production line to achieve the effective car indus¬trial operation. According to the feasibility studied in a car factory, the number of personnels are as follows:- Engineer 150 persons -Technician 697 persons -Workman 2,764 persons These numbers can be worked out in ratio as 1: 4.64 : 18.42 After re-arrangement, have found that, the number of personnels can be reduced to 1: 4.64 : 10.24 or by 51.89%. As far as Markov Chain theory is concerned, the suitable ratio of personnels needed among the engineer, technician and workman should be 1 : 4.52 : 13.12 in future trend.
dc.format.extent429838 bytes-
dc.format.extent338860 bytes-
dc.format.extent443413 bytes-
dc.format.extent1390159 bytes-
dc.format.extent693291 bytes-
dc.format.extent411008 bytes-
dc.format.extent404229 bytes-
dc.format.extent2364610 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการพยากรณ์กำลังคนในอุตสาหกรรมประกอบรถยนต์ไทยen
dc.title.alternativeManpower forecasting in Thai automobile assembly industryen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Paiboon_Wi_front.pdf419.76 kBAdobe PDFView/Open
Paiboon_Wi_ch1.pdf330.92 kBAdobe PDFView/Open
Paiboon_Wi_ch2.pdf433.02 kBAdobe PDFView/Open
Paiboon_Wi_ch3.pdf1.36 MBAdobe PDFView/Open
Paiboon_Wi_ch4.pdf677.04 kBAdobe PDFView/Open
Paiboon_Wi_ch5.pdf401.38 kBAdobe PDFView/Open
Paiboon_Wi_ch6.pdf394.75 kBAdobe PDFView/Open
Paiboon_Wi_back.pdf2.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.