Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24122
Title: | การสร้างบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร เรื่อง "พืชดอกและพืชไร้ดอก" สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่หก |
Other Titles: | Construction of a science programmed lesson on "phanerogamia plants and cryptogamia plants" for pratom suksa six |
Authors: | วารุณี วีระธรรมานนท์ |
Advisors: | รุจิระ สุภรณ์ไพบูลย์ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Issue Date: | 2520 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อสร้างบทเรียนแบบโปรแกรม วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ''เรื่องพืชดอกและพืชไร้ดอก'' สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่หก และหาประสิทธิภาพของบทเรียนตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 ผู้วิจัยสร้างบทเรียนแบบโปรแกรม ''เรื่องพืชดอกและพืชไร้ดอก'' เป็นบทเรียน แบบโปรแกรมชนิดเส้นตรง (Straight forward Linear Programmed) จำนวน 170 กรอบ และแบบสอบจำนวน 45 ข้อ ตัวอย่างประชากรไค้แก่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ห้า โรงเรียนประถมนนทรี จำนวน 100 คน การทดลองเริ่มโดยให้นักเรียน ทำแบบสอบก่อนเรียนบทเรียน แล้วให้เรียนบทเรียนแบบโปรแกรม เมื่อจบบทเรียนแล้วจึงให้ทำแบบสอบหลังเรียนบทเรียนนำข้อมูลทั้งหมดมาวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของบทเรียนตามเกณฑ์มาตรฐานดังกล่าว ผลการวิจัยปรากฏว่า บทเรียนแบบโปรแกรมเรื่อง ''พืชดอกและพืชไร้ดอก''’' มีประสิทธิภาพ 92.38/85.73 หมายความว่า นักเรียนสามารถตอบคำถามในบทเรียนแบบ โปรแกรมได้ถูกต้องโดยเฉลี่ยร้อยละ 92.38 และสามารถทำแบบสอบหลังเรียนบท เรียนแบบโปรแกรมได้ถูกต้องเฉลี่ยร้อยละ 85.73 ทั้งนั้นบทเรียนนี้จึงมีประสิทธิภาพต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานเล็กน้อย อย่างไรก็ตามเมื่อนักเรียนเรียนบทเรียนแบบโปรแกรม เรื่อง "พืชดอกและพืชไร้ดอก" แล้วนักเรียนมีพัฒนาการในการเรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องนี้เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 |
Other Abstract: | The purpose of this research was to construct a Science Programmed Lesson on "Phanerogamia Plants and Cryptogamia Plants" for Prathom Suksa Six and to investigate the effective¬ness of a Programmed Lesson based on the 90/90 standard. The Programmed Lesson "Phanerogamia Plants and Cryptogamia Plants" was the Straight Forward Linear programmed which consisted of 170 frames and the forty-five test items. The samples of the experiment were hundred students in Prathomnonthree School. The experiment started with the pre-test. Then the students were asked to work on the Programmed Lesson and finally they were given the post-test. The researcher then collected the data to calculate the effectiveness of the Programmed Lesson. The Programmed Lesson "Phanerogamia Plants and Crypto-gamia Plants" indicated an evaluation of 92.38/85.73. This means that the students' average score is 92.38 percents on answering the questions in the Programmed Lesson and the everage score of the post-test is 85.73 percents. The effectiveness of the con¬struction Programmed Lesson is little lower than the 90/90 Standard However the arithmatic mean of the pre-test and the post¬test show significant difference at the level .01 this mean that their knowledge were improved. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2520 |
Degree Name: | ครุศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | ประถมศึกษา |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24122 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
varunee_ve_front.pdf | 460.87 kB | Adobe PDF | View/Open | |
varunee_ve_ch1.pdf | 870.34 kB | Adobe PDF | View/Open | |
varunee_ve_ch2.pdf | 1.23 MB | Adobe PDF | View/Open | |
varunee_ve_ch3.pdf | 1.92 MB | Adobe PDF | View/Open | |
varunee_ve_ch4.pdf | 519.24 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Varunee_Ve_ch5.pdf | 432.31 kB | Adobe PDF | View/Open | |
varunee_ve_back.pdf | 2.76 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.