Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29426
Title: Le Discours mondain et le discours omoureux dans Un Amour de Svuann de Marcel Proust
Other Titles: อรรถบทของสังคมชั้นสูงและอรรถบทแสดงความรักในนวนิยายเรื่อง เอิงนามูร์ เดอ สวานน์ ของมาร์แซล พรูสต์
Authors: Peerapong Techakamthorn
Advisors: Dharntipaya Kaotipaya
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Issue Date: 1994
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Cette recherche a pour but d'etudier le discours mondain etle discours amoureux dans Un amour de Swann de Marcel Proust. Après avoir dégagé les principales définitions du mot <<discours>>, nous nous penchons d'abord sur les moyens dont dispose l'écrivain pour inscrire le discours dans le cadre de son roman. Nous étudions ensuite les composantes linguistiques, rhétoriqueset et extra-linguistiques du discours mondain et du discoursamoureux afin d'en déterminer les fonctions principales. Cette recherche nous a permis de conclure que ceux-ci,par-delà certaines caractéristiques propres à l'un ou à l'autre, sont tous deux des discours pratiquement vides de sens et qui entretiennent avec la réalité un rapport défaillant. Cette disqualification du discours que Proust a soulignée à propos desdeux thèmes principaux d'Un amour de Swann, la mondanité et l'amour, est probablement un des éléments clés de la modernité de Proust.
Other Abstract: การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาอรรถบทของสังคมชั้นสูงและอรรถบทแสดงความรักในนวนิยายเรื่อง เอิงนามูร์ เดอ สวานน์ ของมาร์แซล พรูสต์ ในบทแรกเป็นการกำหนดความหมายที่ชัดเจนของ "อรรถบท" รวมถึงวิธีการที่นักประพันธ์ผู้นี้นำเสนออรรถบทในนวนิยายของเขา บทที่ 2 และบทที่ 3 เป็นการนำเอาองค์ประกอบต่าง ๆ ของอรรถบททั้งในด้านภาษา วาทศิลป์และบริบทมาวิเคราะห์เพื่อศึกษาหน้าที่ของอรรถบทของสังคมชั้นสูงและอรรถบทแสดงความรักในนวนิยายดังกล่าว ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า แม้ว่าอรรถบทของสังคมชั้นสูงและอรรถบทแสดงความรักจะมีคุณสมบัติเฉพาะตัวที่แตกต่างกันไป แต่ทว่าอรรถบททั้งสองประเภทนี้ต่างก็เป็นอรรถบทที่ไร้สาระและไม่ตรงกับความจริง และเนื่องจากการที่พรูสต์ตั้งใจทำให้อรรถบทของสังคมชั้นสูงและอรรถบทแสดงความรักเป็นอรรถบทที่ไม่มีแก่นสารสาระและไม่อิงกับความเป็นจริงเช่นนี้เองที่ทำให้พรูสต์ได้ชื่อว่าเป็นนักเขียนที่มีแนวคิดล้ำยุค
Description: Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 1994
Degree Name: Master of Arts
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: French
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29426
ISBN: 9745845132
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Peerapong_te_front.pdf2.11 MBAdobe PDFView/Open
Peerapong_te_ch0.pdf3.05 MBAdobe PDFView/Open
Peerapong_te_ch1.pdf4.6 MBAdobe PDFView/Open
Peerapong_te_ch2.pdf9.02 MBAdobe PDFView/Open
Peerapong_te_ch3.pdf10.3 MBAdobe PDFView/Open
Peerapong_te_ch4.pdf958.47 kBAdobe PDFView/Open
Peerapong_te_back.pdf3.13 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.