Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32649
Title: Maximum allowable distributed generation with protection system coordination and power loss considerations
Other Titles: กำลังการผลิตที่รับได้สูงสุดของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าขนาดเล็กโดยคำนึงถึงการประสานสัมพันธ์ของระบบป้องกันและกำลังสูญเสีย
Authors: Titti Saksornchai
Advisors: Bundhit Eua-arporn
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Advisor's Email: Bundhit.E@chula.ac.th
Subjects: Electric generators
Electric power production
Electric power systems -- Electric losses
เครื่องกำเนิดไฟฟ้า
การผลิตพลังงานไฟฟ้า
ระบบไฟฟ้ากำลัง -- กำลังงานสูญเสีย
Issue Date: 2011
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: To propose a method for determining a maximum allowable distributed generation (DG) with protection system coordination and power loss consideration in a distribution system. Although there are a number of methods for determining a maximum DG penetration in a distribution system, only few works explicitly investigate impact on protection system coordination and power loss. In general, impacts of a DG connection, i.e. protection mis-coordination, power loss increase, and system service quality variation are not taken into account. In this thesis, protection adjustment procedures for increasing the maximum allowable DG are proposed. In addition, a method for evaluating the impact of DG connection on system service quality has been developed. As a result, the advantage and disadvantage of DG connection can be determined quantitatively. The proposed methods have been tested with the RBTS Bus 2 and an actual Provincial Electricity Authority (PEA) distribution systems. The results show the effectiveness of the methods to calculate for maximum allowable DG, system impact evaluation, and planning for DG connection.
Other Abstract: นำเสนอวิธีการหาขนาดกำลังผลิตที่รับได้สูงสุดของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าขนาดเล็กที่จะเชื่อมต่อกับระบบจำหน่ายไฟฟ้า โดยคำนึงถึงการประสานสัมพันธ์ของระบบป้องกันและกำลังสูญเสีย ที่ผ่านมานั้นวิธีการที่ใช้ประเมินหาขนาดสูงสุดของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าขนาดเล็กนั้น ยังขาดความชัดเจนในกระบวนการวิเคราะห์การทำงานของระบบป้องกันและกำลังสูญเสียของระบบที่เปลี่ยนไป รวมถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นได้จากการเชื่อมต่อของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าขนาดเล็ก ได้แก่ การทำงานผิดพลาดของระบบป้องกัน การเพิ่มขึ้นของกำลังสูญเสีย และการเปลี่ยนแปลงของความเชื่อถือได้ของระบบไฟฟ้า นอกจากนี้วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ยังนำเสนอ วิธีการปรับปรุงระบบป้องกันเพื่อช่วยให้ระบบไฟฟ้าสามารถรองรับกำลังผลิตที่เพิ่มขึ้น และยังได้นำเสนอวิธีประเมินผลกระทบเชิงปริมาณของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ที่มีต่อความน่าเชื่อถือได้ของระบบ ทำให้สามารถทราบถึงผลดีและผลเสียที่จะเกิดขึ้นจากการเชื่อมต่อของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าขนาดเล็ก ผลการทดสอบกับระบบไฟฟ้า RBTS Bus 2 และระบบไฟฟ้าจำหน่ายของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค แสดงให้เห็นว่า วิธีการที่นำเสนอมีศักยภาพเพียงพอในการนำไปประยุกต์ใช้สำหรับงานวิเคราะห์หาขนาดกำลังผลิตสูงสุดที่ระบบไฟฟ้าจำหน่ายสามารถรับได้ ตลอดจนสามารถนำไปใช้ประเมินผลกระทบ และการวางแผนเกี่ยวกับการเชื่อมต่อของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าขนาดเล็กได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Description: Thesis (D.Eng.)--Chulalongkorn University, 2011
Degree Name: Doctor of Engineering
Degree Level: Doctoral Degree
Degree Discipline: Electrical Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32649
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
titti_sa.pdf1.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.