Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46906
Title: ความสัมพันธ์ระหว่างการเซลฟี่และเจตคติต่อการทำศัลยกรรมเสริมความงาม โดยมีการรับรู้ตนเสมือนวัตถุเป็นตัวแปรส่งผ่าน
Other Titles: RELATIONSHIP BETWEEN SELFIE AND ATTITUDE TOWARDS COSMETIC SURGERY : THE MEDIATING ROLE OF SELF-OBJECTIFICATION
Authors: กชกร จงเกริกเกียรติ
ฐานิตา ไพรีขยาด
ณภัทร สุวัชราภิสิทธิ์
Advisors: ประพิมพา จรัลรัตนกุล
กมลกานต์ จีนช้าง
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
Advisor's Email: prapimpa.j@chula.ac.th
No information provided
Subjects: ภาพลักษณ์ร่างกาย
การรับรู้ตนเอง
ศัลยกรรม
ความงามของบุคคล
การเสริมสวย
ความงามของสตรี (สุนทรียศาสตร์)
การถ่ายภาพ
Body image
Self-perception
Surgery
Beauty, Personal
Beauty culture
Feminine beauty (Aesthetics)
Photography
Issue Date: 2557
Publisher: คณะจิตวิทยา. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: โครงงานทางจิตวิทยานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเซลฟี่และเจตคติต่อการทำศัลยกรรมเสริมความงาม โดยมีการรับรู้ตนเสมือนวัตถุเป็นตัวแปรส่งผ่านของกลุ่มตัวอย่างเพศหญิง ที่มีอายุระหว่าง 18-34 ปี (Millennials) จำนวน 212 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ มาตรวัดการเซลฟี่ มาตรวัดการรับรู้ตนเสมือนวัตถุ และมาตรวัดเจตคติต่อการทำศัลยกรรมเสริมความงาม ผลการวิเคราะห์อิทธิพลส่งผ่าน (Mediation Analysis) โดยโปรแกรม Process พบว่า 1.1 การเซลฟี่มีอิทธิพลทางบวกกับการเฝ้าสำรวจภาพลักษณ์ทางร่างกายของตนเอง (b = .28, p < .001) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 1.2 การเซลฟี่มีอิทธิพลทางบวกกับความรู้สึกอับอายในภาพลักษณ์ทางร่างกายของตนเอง (b = .29, p < .001) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 2.1 การเฝ้าสำรวจภาพลักษณ์ทางร่างกายของตนเองมีอิทธิพลทางบวกกับเจตคติต่อการทำ ศัลยกรรมเสริมความงาม (b = .38, p < .001) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 2.2 ความรู้สึกอับอายในภาพลักษณ์ทางร่างกายของตนเองมีอิทธิพลทางบวกกับเจตคติต่อการทำ ศัลยกรรมเสริมความงาม (b = .36, p < .001) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 3.การเซลฟี่มีอิทธิพลทางบวกกับเจตคติต่อการทำศัลยกรรมเสริมความงาม (b = .44, p < .001) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 4.1 การเซลฟี่มีอิทธิพลต่อเจตคติต่อการทำศัลยกรรมเสริมความงามโดยมีการเฝ้าสำรวจภาพลักษณ์ทางร่างกายของตนเองเป็นตัวแปรส่งผ่านที่ระดับ .01 4.2 การเซลฟี่มีอิทธิพลต่อเจตคติต่อการทำศัลยกรรมเสริมความงามโดยมีความรู้สึกอับอายในภาพลักษณ์ทางร่างกายของตนเองเป็นตัวแปรส่งผ่านที่ระดับ .01
Other Abstract: The purpose of this research was to examine the mediating effect of self-objectification on the association between selfie and attitude towards cosmetic surgery with self-report measures including selfie questionnaires, self-objectification scale and attitude towards cosmetic surgery scale among women aged 18 - 34 (Millennials) (N = 212) in Bangkok metropolitan area. Mediation analysis results reveal that: 1.1 Selfie significantly predicts self-surveillance (b = .28, p < .001). 1.2 Selfie significantly predicts body shame (b = .29, p < .001). 2.1 Self-surveillance significantly predicts attitude towards attitude towards cosmetic surgery (b = .38, p < .001). 2.2 Body shame significantly predicts attitude towards attitude towards cosmetic surgery (b = .36, p < .001). 3. Selfie significantly predicts attitude towards cosmetic surgery (b = .44, p < .001). 4.1 Self-surveillance significantly mediates the relationship between selfie and attitude towards cosmetic surgery (p < .01). 4.2 Body shame significantly mediates the relationship between selfie and attitude towards cosmetic surgery (p < .01).
Description: โครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2557
A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2014
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46906
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1386
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2014.1386
Type: Senior Project
Appears in Collections:Psy - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kotchakorn_jo.pdf4.55 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.