Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47840
Title: การเปรียบเทียบค่าสถิติศาสตร์ของมาตรประมาณค่า ที่มีจำนวนช่วงต่างกัน
Other Titles: A comparison of statistics of differnt numbers of response interval of rating scale
Authors: ศิรินาถ สิงหาแก้ว
Advisors: สุวัฒนา สุวรรณเขตนิคม
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: suwatana.s@chula.ac.th
Issue Date: 2536
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบค่าสถิติของข้อมูลที่ได้จากมาตรประมาณค่ารูปแบบคำตอบแบบกราฟิกที่มีจำนวนช่วงของคำตอบต่างกัน 5 แบบ คือ แบบ 7 ช่วง แบบ 6 ช่วง แบบ 5 ช่วง แบบ 4 ช่วงและ แบบ 3 ช่วง ที่ได้จากการประเมินการสำรวจนิสัยในการเรียนกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดสระบุรี จำนวน 695 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีสุ่มแบบแบ่งชั้นแล้วสุ่ม 2 ชั้น ออกเป็น 5 กลุ่มๆ ละ 139 คนการวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติบรรยายคือค่าตรงกลาง ค่ากระจาย และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แล้วใช้สถิติอนุมานคือสถิติทดสอบเอฟ และไคสแควร์ในการทดสอบความแตกต่างของค่าสถิติ ผลการวิจัยสรุปได้ว่า 1. ค่าเฉลี่ยของมาตรประมาณค่าที่มีจำนวนช่วงของคำตอบต่างกัน 5 แบบแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ความแปรปรวนของมาตรประมาณค่าที่มีจำนวนช่วงของคำตอบต่างกัน 5 แบบแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ค่าความเที่ยงแบบวัดซ้ำของมาตรประมาณค่าที่มีจำนวนช่วงของคำตอบต่างกัน 5 แบบแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
Other Abstract: The purpose of this study was to compare difference among from five patterns of rating scale intervals. The five patterns were seven, six, five, four and three intervals. The study based on data from self rating scale questionnaire about studying habits of the secondary label school students. The sample consisted of 695 Matayomsuksa three students from 10 schools in Saraburi Province. The sample were randomly divided into five equal groups. Each group responded to the one of the five patterns. The data were analyzed by descriptive statistics. Then, F-test and X2-test were used to test difference in the means, the variances and the reliability coefficients among the five groups. The findings were as follow: 1. There was a significant different among the means obtaining from the five rating scale interval patterns at .05 level. 2. There was a significant different among the five variances obtaining from the five rating scale interval patterns at .05 level. 3. The five reliability coefficients obtaining from the five rating scale interval patterns were significant different at .05 level.
Description: วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536
Degree Name: ครุศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิจัยการศึกษา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47840
ISBN: 9745831743
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sirinat_si_front.pdf732.7 kBAdobe PDFView/Open
Sirinat_si_ch1.pdf502.4 kBAdobe PDFView/Open
Sirinat_si_ch2.pdf2.11 MBAdobe PDFView/Open
Sirinat_si_ch3.pdf960.6 kBAdobe PDFView/Open
Sirinat_si_ch4.pdf869.14 kBAdobe PDFView/Open
Sirinat_si_ch5.pdf514.04 kBAdobe PDFView/Open
Sirinat_si_back.pdf1.89 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.