Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53497
Title: ลำดับชั้นหินและสภาพแวดล้อมในอดีตของหินคาร์บอเนต บริเวณวัดรัตนญาณสังวร อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี
Other Titles: Stratigraphy and paleoenvironments of carbonate rock at Wat Rattanayannasangwon, Amphoe Muak Lek, Changwat Saraburi
Authors: ณัฏฐ์ ศรีสุรักษ์
Advisors: ฐาสิณีย์ เจริญฐิติรัตน์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Advisor's Email: thasineec@gmail.com
Subjects: การลำดับชั้นหิน (ธรณีวิทยา)
การลำดับชั้นหิน (ธรณีวิทยา) -- ไทย
การลำดับชั้นหิน (ธรณีวิทยา) -- ไทย -- สระบุรี
การลำดับชั้นหิน (ธรณีวิทยา) -- ไทย -- มวกเหล็ก (สระบุรี)
ธรณีวิทยาโครงสร้าง
ธรณีวิทยาโครงสร้าง -- ไทย
ธรณีวิทยาโครงสร้าง -- ไทย -- สระบุรี
ธรณีวิทยาโครงสร้าง -- ไทย -- มวกเหล็ก (สระบุรี)
ภูมิศาสตร์เชิงประวัติ
ภูมิศาสตร์เชิงประวัติ -- ไทย
ภูมิศาสตร์เชิงประวัติ -- ไทย -- สระบุรี
ภูมิศาสตร์เชิงประวัติ -- ไทย -- มวกเหล็ก (สระบุรี)
หินคาร์บอเนต
หินคาร์บอเนต -- ไทย
หินคาร์บอเนต -- ไทย -- สระบุรี
หินคาร์บอเนต -- ไทย -- มวกเหล็ก (สระบุรี)
การสำรวจทางธรณีวิทยา
การสำรวจทางธรณีวิทยา -- ไทย
การสำรวจทางธรณีวิทยา -- ไทย -- สระบุรี
การสำรวจทางธรณีวิทยา -- ไทย -- มวกเหล็ก (สระบุรี)
Geology, Stratigraphic
Geology, Stratigraphic -- Thailand
Geology, Stratigraphic -- Thailand -- Saraburi
Geology, Stratigraphic -- Thailand -- Muak Lek (Saraburi)
Geology, Structural
Geology, Structural -- Thailand
Geology, Structural -- Thailand -- Saraburi
Geology, Structural -- Thailand -- Muak Lek (Saraburi)
Historical geography
Historical geography -- Thailand
Historical geography -- Thailand -- Saraburi
Historical geography -- Thailand -- Muak Lek (Saraburi)
Carbonate rocks
Carbonate rocks -- Thailand
Carbonate rocks -- Thailand -- Saraburi
Carbonate rocks -- Thailand -- Muak Lek (Saraburi)
Geological surveys
Geological surveys -- Thailand
Geological surveys -- Thailand -- Saraburi
Geological surveys -- Thailand -- Muak Lek (Saraburi)
Issue Date: 2559
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: หินในพื้นที่ศึกษาวัดรัตนญาณสังวร อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรีอยู่ในส่วนของหมวดหินหนองโป่ง กลุ่มหินสระบุรีซึ่งเป็นหินตะกอนยุคเพอร์เมี่ยน หินในพื้นที่ศึกษาประกอบด้วยหินปูนเป็นหลักและบางส่วนเป็นหินปูนโดโลมิติก และมีพนังของหินแอนดีไซต์แทรกขึ้นมา หินปูนมีลักษณะเป็นพืดหนา ไม่พบลักษณะที่บ่งบอกแนวการวางตัว จากการจัดจำแนกสามารถแบ่งหินปูนออกเป็น 5 ชนิดคือ 1) มัดสโตน 2) แว็คสโตน 3) เกรน สโตน 4) บาวด์สโตน และ 5) หินปูนโดโลมิติก ซากดึกดำบรรพ์พบคือ ไครนอยด์ ปะการัง หอยสองฝา ไบรโอซัว สาหร่าย ฟอแรมินิเฟอรา และแอมโมนอยด์ ในพื้นที่ศึกษาพบซากดึกดำบรรพ์เป็นจำนวนมากร่วมกับ fibrous cement ซึ่งเป็นการเชื่อมประสานที่เกิดพร้อมการสะสมตัวของหินคาร์บอเนตในทะเล แสดงว่าบริเวณนี้เคยมีสภาพแวดล้อมเป็นแนวปะการังที่มีสาหร่ายเป็นองค์ประกอบหลัก
Other Abstract: Carbonate rocks distributed in Wat Rattanayannasangwon, Amphoe Muak Lek, Changwat Saraburi, belong to the Nong Pong Formation, Permian in age. This location is composed mainly of limestone, partly dolomitic limestone, and andesite dikes. Limestone shows massive without clear criteria of bedding. It can be further classified into 5 different types: 1) mudstone, 2) wackestone 3) grainstone 4) boundstone and 5) dolomitic limestone. Crinoids, corals, bivalves, bryozoans, algae, foraminiferans and ammonoids were found. The presence of abundant algae and fibrous cement shows that the depositional environment was in the algal reef environment.
Description: โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา . คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53497
Type: Senior Project
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nutt Srisuruk.pdf4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.