Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62523
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเหรียญ บุญดีสกุลโชค-
dc.contributor.authorศารทูล พิชาลัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2019-07-23T08:06:31Z-
dc.date.available2019-07-23T08:06:31Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.isbn9746314815-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62523-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538-
dc.description.abstractการจำลองปัญหาเป็นเทคนิคหนึ่ง ที่สามารถใช้สำหรับการประเมินสถานีบริการ ในงานด้านบำรุงรักษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์หลังของการศึกษานี้ เพื่อกำหนดจำนวนสถานีบริการที่เหมาะสม ของสถานีบริการ “17” ภายใต้เงื่อนไขการบริหารงานปัจจุบัน โดยใช้กองบำรุงรักษาที่ 1 เฉพาะ ชุมสายสุรวงศ์ เป็นตัวอย่างกรณีศึกษา วิทยานิพนธ์นี้ได้แสดงวิธีการกำหนดจำนวนสถานีบริการ โดยเริ่มจากการสร้างแบบจำลองปัญหาเพื่อแทนระบบการบำรุงรักษาโดยกำหนดเงื่อนไขการบริหารงานปัจจุบันข้อมูลอัตราการเสียหายของหมายเลขโทรศัพท์สาเหตุความเสียหายแต่ละประเภท เวลารอคอยการแก้ไข ได้จากการบันทึกขององค์การโทรศัพท์และเวลาแก้ไขสาเหตุการเสียหายแต่ละประเภทได้จากมาตรฐานขององค์การโทรศัพท์ เพื่อที่จะมีวิธีการพิจารณากำหนดจำนวนสถานีบริการที่เหมาะสม การวิจัยนี้ได้นิยาม “INDEX” ให้มีค่าเท่ากับเวลาที่ใช้ในกระบวนการแก้ไขจริงหารด้วยเวลาที่เบอร์เสียอยู่ในกระบวนการแก้ไขทั้งหมด การวิเคราะห์กระทำโดยการเปลี่ยนจำนวนของสถานีบริการที่จำนวนต่างๆ (1, 2, .....n) และพิจารณาค่า INDEX ที่ได้จากจำนวนสถานีต่างๆ (Index(1), Index(2), …….Index(n)) โดยเลือกจำนวนสถานีบริการที่จำนวนน้อยที่สุดแต่ให้ค่า INDEX สูงสุด เป็นจำนวนสถานีบริการที่เหมาะสม-
dc.description.abstractalternativeSimulation is a effective technique which can be serves to evaluated the manpower allocation in maintenance field. The main aim of this research is to determine the suitable numbers of the “17” service stations under the present maintenance management conditions. The service station under the study is a SURAWONG exchange. This thesis has been demonstrated the procedure to formulated the number of service station. Then, the simulation model in STMAN is developed for the evaluation of operation performance of the service station under the present maintenance management. Input data such as the failure rate, type of failure, delay time and repair time have gotten from past historical data and standard of the TOT.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectโทรศัพท์ -- ไทย-
dc.subjectTelephone -- Thailand-
dc.titleการวิเคราะห์งานบริการ "17" ที่เหมาะสม โดยเทคนิคการจำลองแบบปัญหา-
dc.title.alternativeAnalysis of the suitable numbers of the "17" service stations by simulation technique-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Saratoon_ph_front_p.pdf2.68 MBAdobe PDFView/Open
Saratoon_ph_ch1_p.pdf2.06 MBAdobe PDFView/Open
Saratoon_ph_ch2_p.pdf2.21 MBAdobe PDFView/Open
Saratoon_ph_ch3_p.pdf6.15 MBAdobe PDFView/Open
Saratoon_ph_ch4_p.pdf4.28 MBAdobe PDFView/Open
Saratoon_ph_ch5_p.pdf6.4 MBAdobe PDFView/Open
Saratoon_ph_ch6_p.pdf1.26 MBAdobe PDFView/Open
Saratoon_ph_back_p.pdf16.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.