Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65757
Title: | The efficacy of ginger in prevention of postoperative nausea and vomiting after intrathecal morphine for lower extremity surgery |
Other Titles: | ประสิทธิผลของขิงในการป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียนหลังการผ่าตัดและให้ยามอร์ฟีนทางไขสันหลัง ในการผ่าตัดบริเวณส่วนล่างของร่างกาย |
Authors: | Jeratkana Janngam |
Advisors: | Thewarug Werawatganon Visanu Thamlikitkul |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Medicine |
Advisor's Email: | Thewarug.W@Chula.ac.th No information Provided |
Subjects: | Ginger Postoperative nausea and vomiting Morphine Spinal anesthesia ขิง คลื่นไส้อาเจียนหลังศัลยกรรม มอร์ฟีน การระงับความรู้สึกทางไขสันหลัง |
Issue Date: | 2003 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Objective: To compare the efficacy of ginger administered preoperatively in prevention of postoperative nausea and vomiting (PONV) after intrathecal morphine for lower extremity surgery. Design: Randomized double-blind controlled trial Setting: Bangkok Metropolitan Administration General hospital Method: One hundred and eight patients who scheduled for lower extremity surgery under spinal anesthesia with intrathecal morphine were randomly allocated into 2 groups by simple randomization. Groupl received 1 g of ginger and Group 2 received placebo orally 1 hour before induction of anesthesia in a double-blind fashion. Outcome variables included incidence of PONV, severity of nausea, requirement of anti-emetic, pain intensity, pruritus score and any adverse effect. Results: The incidence of PONV were 38.9% in ginger group and 61.1% in placebo group. The result was considered statistically significant (p-value = 0.021) by Z test. Absolute risk reduction (ARR) for PONV by premedication with ginger was 22%, with 95% confidence interval from 3.6% to 40.4% The number needed to treat was 5, with 95% confidence interval from 2 to 28. Ginger group also had less severity of nausea than placebo (p-value = 0.033). However, there was no statistically significant difference between two groups regarding requirement of anti-emetic, time to first rescue anti-emetic, emetic episode per patient, pruritus score, requirement of anti-pruritus, pain intensity, and requirement of analgesic. There were seven patients who had urinary retention; one in ginger group and six in placebo group. No any other side effect was detected. Conclusion: Ginger was more efficacious than placebo in prevention postoperative nausea and vomiting after intrathecal morphine for lower extremity surgery. |
Other Abstract: | วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิผลของขิงรับประทาน 1 ชั่วโมงก่อนระงับความรู้สึก ในการป้องกันอาการคลื่นไห้อาเจียนหลังการผ่าตัดในผู้ป่วยที่ผ่าตัดบริเวณส่วนล่างของร่างกายโดยการให้ยาชาและยามอร์ฟีนทางไขสันหลัง รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม สถานที่ทำการวิจัย: โรงพยาบาลกลาง วิธีการศึกษา: ผู้ป่วยที่มาเข้ารับการผ่าตัดบริเวณส่วนล่างของร่างกายและเข้าเกณฑ์การคัดเลือก 108 ราย ได้รับการแบ่งเป็น 2 กลุ่มโดยวิธีการสุ่ม กลุ่มแรก ได้รับยาแคปซูลขิง! กรัม ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับยาหลอกรับประทาน 1 ชั่วโมงก่อนระงับความรู้สึก ประเมินอาการคลื่นไห้อาเจียน อาการคัน ระดับความเจ็บปวดและภาวะแทรกซ้อนภายใน 24 ชั่วโมงหลังการผ่าตัด ผลการศึกษา: อัตราการเกิดอาการคลื่นไส้อาเจียนเท่ากับ 38.9% ในกลุ่มขิง และ 61.1% ในกลุ่มยาหลอกโดยมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ( p-value = 0.021 ) ค่า ARR = 22% โดยมีระดับความเชื่อมั่น 95% อยู่ในช่วง 3.6% ถึง 40.4% และ NNT = 5 โดยมีระดับความเชื่อมั่น 95% อยู่ในช่วง 2 ถึง 28 อัตราการเกิดอาการคลื่นไส้เท่ากับอัตราการเกิดอาการคลื่นไส้อาเจียน อัตราการเกิดอาการอาเจียนในกลุ่มขิงและกลุ่มยาหลอกไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ความต้องการยาแก้อาเจียนและเวลาที่ได้รับยาแก้อาเจียนครั้งแรก รวมทั้งจำนวนครั้งที่อาเจียนต่อคนไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ อาการคันและระดับความเจ็บปวดของทั้งสองกลุ่มไม่ต่างคัน ไม่พบอาการแทรกซ้อนนอกจากอาการปัสสาวะไม่ออกซึ่งเป็นอาการแทรกซ้อนของยามอร์ฟินทางไขสันหลัง สรุป: ยาแคปซูลขิงมีประสิทธิผลสูงกว่ายาหลอก ในการป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียนหลังการผ่าตัดในผู้ป่วยที่ผ่าตัดบริเวณส่วนล่างของร่างกายโดยการให้ยาชาและยามอร์ฟีนทางไขสันหลัง โดยป้องกันอาการคลื่นไห้มากกว่า อาการอาเจียนและระดับความรุนแรงของอาการคลื่นไส้ในกลุ่มขิงตํ่ากว่าในกลุ่มยาหลอก |
Description: | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2003 |
Degree Name: | Master of Science |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Health Development |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65757 |
ISSN: | 9741744188 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Med - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Jeratkana_ja_front_p.pdf | Cover Abstract and Contents | 764.32 kB | Adobe PDF | View/Open |
Jeratkana_ja_ch1_p.pdf | Chapter 1 | 656.93 kB | Adobe PDF | View/Open |
Jeratkana_ja_ch2_p.pdf | Chapter 2 | 722.27 kB | Adobe PDF | View/Open |
Jeratkana_ja_ch3_p.pdf | Chapter 3 | 890.12 kB | Adobe PDF | View/Open |
Jeratkana_ja_ch4_p.pdf | Chapter 4 | 744.94 kB | Adobe PDF | View/Open |
Jeratkana_ja_ch5_1_p.pdf | Chapter 5_1 | 679.03 kB | Adobe PDF | View/Open |
Jeratkana_ja_ch5_2_p.pdf | Chapter 5_2 | 599.08 kB | Adobe PDF | View/Open |
Jeratkana_ja_back_p.pdf | References and Appendix | 853.46 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.