Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65811
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วันชัย เทพรักษ์ | - |
dc.contributor.author | กิจพล ไพรไพศาลกิจ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.coverage.spatial | กรุงเทพฯ | - |
dc.date.accessioned | 2020-05-16T18:32:31Z | - |
dc.date.available | 2020-05-16T18:32:31Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.issn | 9745318027 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65811 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาถึงพฤติกรรม และแนวทางในการคาดคะเนการทรุดตัวของดินจากการก่อสร้างอุโมงค์รถไฟฟ้าใต้ดิน ผ่านแนวอุโมงค์ส่งน้องการประปานครหลวงบริเวณสามย่าน โดยทำการศึกษาจากขั้นตอนการก่อสร้างและข้อมูลที่จัดเก็บจากในสนาม เปรียบเทียบกับผลจากการ วิเคราะห์ด้วยแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ ด้วยระเบียบวิธีไฟไนต์ดิฟเฟอเรนท์(Finite Difference Analysis, FDA) และใช้กฎการวิปติแบบ Mohr-Coulomb โดยทำการจำลองเสมือนการขุดเจาะแบบ 3 มิติ บนแบบจำลองที่พัฒนาขึ้นโดยเริ่มจากจำลองการขุดเจาะต่อเนื่องของอุโมงค์ระดับล่าง (Southbound Tunnel, SB) ซึ่งมีระดับอยู่ใต้อุโมงค์ประปา จากนั้นจึงทำการจำลองการขุดเจาะของ อุโมงค์ระดับบน (Northbound Tunnel, NB) ซึ่งมีแนวพาดผ่านเหนืออุโมงค์ประปา โดยอุโมงค์ SB วางตัวอยู่ในขั้นดินเหนียวแข็ง (stiff clay) ในขณะที่อุโมงค์ NB วางตัวอยู่ในขั้นดินเหนียวอ่อน (soft clay) ในขณะที่อุโมงค์ NB วางตัวอยู่ในชั้นดินเหนียวอ่อน (soft clay) ผลการวิเคราะห์แบบ Empirical พบว่า ณ หน้าตัดที่มีการติดตั้งเครื่องมือ ค่า i ของอุโมงค์ SB และ NB มีค่าเท่ากับ 8 และ 6 เมตร และมีค่า K เท่ากับ 0.34 และ 0.55 ตามลำดับ โดยเกิดการสูญเสียมวลดินเพียง 0.35% สำหรับอุโมงค์ระดับล่าง(SB) และ 1.80% สำหรับอุโมงค์ระดับบน(NB) จากผลการจำลองการขุดเจาะด้วยวิธี FDA พบว่า วิธีการวิเคราะห์ที่ใช้ในงานวิจัยนี้มีความเหมาะสมสำหรับวิเคราะห์อุโมงค์เดี่ยว โดยสามารถนำไปคาดคะเนการทรุดตัวได้ดีสำหรับอุโมงค์ SB แต่ไม่สามารถใช้ในการจำลองต่อเนื่องอุโมงค์ NB ทั้งนี้เนื่องจากปัจจัยในการขุดเจาะและการควบคุมงานขุด เจาะที่แตกต่างกัน ปัจจัยที่สำคัญอีกประการคือ อุโมงค์ NB อยู่ในระดับที่ตื้นมากเพียง 10.5 เมตร โดยมีระยะจากดาดอุโมงค์ถึงผิวดินเพียงประมาณ 7.30 เมตร อีกทั้งเป็นการวางตัวในขั้นดินเหนียวอ่อน (soft clay) ดังนั้นปริมาณการเคลื่อนตัวที่มากจากการขุดเจาะ ล่งผลให้มวลดินเหนือหัวเจาะภายหลังการขุด เจาะอุโมงค์เส้นบน (NB) อยู่'ในสถานะวิปติ (yield state) ซึ่งมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนไปจากปกติ จนทำให้ไม่สามารถวิเคราะห์ได้ด้วย แนวทางของการวิจัยที่กำหนดให้ดินมีพฤติกรรมตามกฎการวิปติแบบ Mohr-Coulomb | - |
dc.description.abstractalternative | This research aims to study the settlement behavior and the method for predicting the ground surface and subsurface settlements due to MRTA subway tunneling across MWA water supply tunnel in Samyan area. This research study the tunnelling sequence and compare the result from field instrumentation with Finite Difference Analysis(FDA) using Mohr-Coulomb failure criteria. The numerical study was conducted by simulating on 3D numerical model. The simulation started with the lower tunnel, SB, which its alignment pass beneath the MWA water tunnel, and followed by the upper tunnel, NB, which located above MWA water tunnel. The results from empirical method at the instrumentation section show that i = 8 m. for SB tunnel and 6 m. for NB tunnel, K = 0.34, 0.55 and the groundloss were 0.35 and 1.80% for SB and NB tunnel, respectively. The FDA result shown it was suitable for predicting the settlement of SB tunnel, but the FDA numerical analysis could not simulated this continuous approach of the NB tunnel. Since the upper tunnel (NB) in this study is located in the soft clay at the very shallow level, only 7.30 m. from tunnel crown to the ground surface. Excessive soil movememt response due to tunneling in soft clay, this phenomena lead to induce soil behavior different from Mohr-Coulomb criteria. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | อุโมงค์รถไฟฟ้าใต้ดิน | en_US |
dc.subject | การขุดเจาะ | en_US |
dc.subject | การก่อสร้างใต้ดิน | en_US |
dc.subject | แผ่นดินทรุด -- ไทย -- กรุงเทพฯ | en_US |
dc.subject | Subway tunnels | en_US |
dc.subject | Excavation | en_US |
dc.subject | Underground construction | en_US |
dc.subject | Subsidences (Earth movements) -- Thailand -- Bangkok | en_US |
dc.title | ผลกระทบของการเจาะอุโมงค์รถไฟฟ้าใต้ดินต่ออุโมงค์ส่งน้ำในดินกรุงเทพฯ | en_US |
dc.title.alternative | Effects of MRT tunneling on existing water tunnel in Bangkok subsoils | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมโยธา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | wanchai.te@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Kitpon_pr_front_p.pdf | หน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ | 1.14 MB | Adobe PDF | View/Open |
Kitpon_pr_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 688.38 kB | Adobe PDF | View/Open |
Kitpon_pr_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1.32 MB | Adobe PDF | View/Open |
Kitpon_pr_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 2.53 MB | Adobe PDF | View/Open |
Kitpon_pr_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 1.93 MB | Adobe PDF | View/Open |
Kitpon_pr_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 2.24 MB | Adobe PDF | View/Open |
Kitpon_pr_ch6_p.pdf | บทที่ 6 | 665.9 kB | Adobe PDF | View/Open |
Kitpon_pr_back_p.pdf | รายการอ้างอิง และภาคผนวก | 722.25 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.