Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66903
Title: Development of poly(p-phenylene vinylene) for actuator and controlled drug delivery applications
Other Titles: การพัฒนาพอลิเมอร์นำไฟฟ้าพอลิพาราฟินิลีนิไวนิลีนสำหรับประยุกต์เป็นแอกชูเอเตอร์และวัสดุควบคุมการปลดปล่อยยา
Authors: Sumonman Niamlang
Advisors: Anuvat Sirivat
Other author: Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
Issue Date: 2008
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This study evaluated and characterized the use of poly (p-phenylene vinylene) (PPV) as the electroactive polymer and in the controlled drug delivery application. Polydimethylsiloxane(PDMS) gel and PPV/PDMS blends were prepared and investigated as an electroactive polymer. The storage modulus, G’, of PDMS gel increases linearly with crosslink density but nonlinearly with electric field. The gel with the crosslink ratio of 0.01 possesses the highest G’ sensitivity of 41% at 2 kV/mm. For PPV/PDMS blends, the storage modulus, G’, of each blends in higher than that of the purely crosslinked PDMS, due to PPV particles acting as a filler in the matrix. On application of an electric field of 2 kV/mm, the storage modulus response, G’, increases between 7-50%, depending on PPV volume fraction. The stress generated in caused by the induced polarized PPV particles leading to interparticle interactions. Salicylic acid-loaded polyacrylamide hydrogels, SA-loaded PAAM, and salicylic acid-doped poly (phenylene vinylene) /polyacrylamide hydrogels, SA-doped PPV/PAAM were prepared and investigated as the controlled drug delivery device. The apparent diffusion coefficient, Dapp of SA-doped PPV/PAAM is higher than that of the SA-loaded PAAM, and increases with increasing electric field strength due to the combined mechanisms: the expansion of PPV chains inside the hydrogel; the reduction reaction under a negative potential driving the anionic SA through the PAAM matrix; and the electroporation of the matrix pore. Thus, the presences of the conductive polymer and applied electric field can be combined to control the drug releaser rate at an optimal desired level.
Other Abstract: ในงานวิจัยนี้อนุภาคพอลิพาราฟินิลีนไวนิลีนได้ถูกสังเคราะห์ขึ้นเพื่อพัฒนาเป็นแอคทูเอเตอร์และวัสดุควบคุมการปลดปล่อยยา ยางพอลิไดเมทิลไซลอกเซนและยางผสมระหว่างพอลิไดเมทิลไซลอกเซนกับพอลิพาราฟินิลีนไวนิลีนถูกเตรียมขึ้นเพื่อศึกษาคุณสมบัติการตอบสนองภายใต้กระแสฟ้าโดยค่าสตอเรจมอดูรัสของยางพอลิไดเมทิลไซลอกเซนเพิ่มโดยมีความสัมพันธ์โดยตรงกับการเพิ่มขึ้นของอัตราส่วนร่างแห แต่มีความสัมพันธ์แบบไม่เป็นเส้นตรงกับการเพิ่มขึ้นของความต่างศักย์ไฟฟ้าที่จ่าย และที่อัตราส่วนร่างแห 0.01 นั้นยางพอลิไดเมทิลไซลอกเซนแสดงการตอบสนองทางไฟฟ้ามากที่สุดถึง 41% เมื่อจ่ายไฟที่มีความต่างศักยไฟฟ้า 2 กิโลโวลต์/มิลลิเมตร การที่ระบบยางผสมระหว่างพอลิไดเมทิลไซลอกเซนและพอลิพาราฟินิลีนไวนิลีนมีค่าสตอเรจมอดูลัสมากกว่ายางพอลิไดเมทิลไซลอกเซนบริสุทธิ์นั้นเนื่องมาจากอนุภาคพอลิพาราฟินิลีนไวนิลีนนั้นทำหน้าที่เหมือนสารเติมแต่งเพิ่มความแข็งแรงในระบบยางผสมนอกจากนั้นเมื่อจ่ายไฟที่ความต่างศักย์ 2 กิโลโวลต์/มิลลิเมตร ระบบยางผสมมีการเพิ่มขึ้นของสตอเรจมอดูลัสระหว่าง 7-50% ขึ้นอยู่กับปริมาณอนุภาคพอลิพราราฟินิลีนไวนิลีนที่เติมลงไป การเพิ่มขึ้นของค่าสตอเรจมอดูลัสเมื่อมีการจ่ายไฟให้กับระบบนั้นน่าจะเกิดจากการที่อนุภาคถูกเหนี่ยวนำภายใต้กระแสไฟฟ้าและทำปฏิกิริยาดึงดูดซึ่งกันและกันระหว่างอนุภาคนอกจากนี้พอลิมพาราฟินีลีนไวนิลีนได้ถูกเตรียมและผสมกับพอลิอะคริลาไมด์เพื่อพัฒนาเพื่อเป็นวัสดุปลดปล่อยยาซาลิไซลิกภายใต้การควบคุมโดยไฟฟ้า จากการทดสอบการปลดปล่วยยาพบว่าค่าคงที่การแพร่ของยาซาลิไซลิกจากระบบผสมระหว่างพอลิพาราฟินิลีนไวนิลีนและพอลิอะคริลาไมด์มากกว่าพอลิอะคริลาไมด์บริสุทธิ์เนื่องมาจากสามปัจจัยคือระบบที่มีพอลิพาราฟิลิลีนไวนิลีนจะเกิดปฏิกิริยารีดัคชันเมื่อมีการจ่ายไฟลงไปในระบบ, ช่องในพอลิอะคริลาไมต์จะขยายตัวเมื่อมีการจ่ายไฟ, กละกระแสไฟฟ้าจะช่วยผลักให้ยาซึ่งมีความเป็นขั้วลงออกมาจากพอลิอะคริลาไมด์ดังนั้นเราสามารถสรุปได้ว่าการที่มีสารนำไฟฟ้าและการจ่ายไฟลงไปจะสามารถช่วยควบคุมการปลดปล่อยยาในระดับที่ต้องการอย่างเหมาะสม
Description: Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2008
Degree Name: Doctor of Philosophy
Degree Level: Doctoral Degree
Degree Discipline: Polymer Science
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66903
Type: Thesis
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sumonman_ni_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ1.02 MBAdobe PDFView/Open
Sumonman_ni_ch1_p.pdfบทที่ 1705.85 kBAdobe PDFView/Open
Sumonman_ni_ch2_p.pdfบทที่ 21.66 MBAdobe PDFView/Open
Sumonman_ni_ch3_p.pdfบทที่ 3981.34 kBAdobe PDFView/Open
Sumonman_ni_ch4_p.pdfบทที่ 41.25 MBAdobe PDFView/Open
Sumonman_ni_ch5_p.pdfบทที่ 51.38 MBAdobe PDFView/Open
Sumonman_ni_ch6_p.pdfบทที่ 61.94 MBAdobe PDFView/Open
Sumonman_ni_ch7_p.pdfบทที่ 71.7 MBAdobe PDFView/Open
Sumonman_ni_ch8_p.pdfบทที่ 8674.57 kBAdobe PDFView/Open
Sumonman_ni_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.