Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67569
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปารเมศ ชุติมา | - |
dc.contributor.advisor | ชูเวช ชาญสง่าเวช | - |
dc.contributor.author | รุจเรข กาญจนรุจวิวัฒน์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-08-18T06:27:13Z | - |
dc.date.available | 2020-08-18T06:27:13Z | - |
dc.date.issued | 2542 | - |
dc.identifier.isbn | 9743339981 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67569 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 | - |
dc.description.abstract | Quality Function Deployment (QFD) เป็นเทคนิคที่ถูกนำเข้ามาช่วยให้การวางแผนของผู้ผลิต สอดคล้องต่อความต้องการของลูกค้า โดยเริ่มจากความต้องการของลูกค้า แล้วกระจายไปยังความต้องการ ณ เวลาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นความต้องการเชิงเทคนิค ความต้องการด้านการออกแบบลักษณะสำคัญของชิ้นส่วนของผลิตภัณฑ์ ลักษณะสำคัญของกระบวนการจนกระทั่งได้แผนการดำเนินงานที่ต้องการ โดยใช้เมตริกเข้ามาช่วย แผนดังกล่าวจะถูกเรียงตามลำดับความสำคัญโดยที่ความสำคัญจะชิ้นอยู่กับ การที่แผนนั้นมีความสัมพันธ์กับความต้องการ และน้ำหนักความสำคัญของความต้องการนั้น ค่าความสำคัญต่าง ๆ จะได้มาจากการให้คะแนนตามความคิดเห็นของลูกค้าและทีมงาน ซึ่งแต่เดิม การให้คะแนนจะใช้การให้คะแนนแบบค่าสัมบูรณ์ ซึ่งมีข้อเสียหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นการไม่สามารถจัดการกับความไม่อยู่กับร่องกับรอยที่เกิดจากการตัดสินใจได้ ความไม่ตรงกันของฐานที่ใช้ในการตัดสินใจ การที่ผู้ตัดสินใจไม่สามารถพิจารณาความต้องการทีละหลายๆ ตัวพร้อมกันได้ และการที่ผู้พิจารณามักจะเห็นว่าทุกความต้องการล้วนแล้วแต่มีความสำคัญทั่งสิ้น ดังนั้นจึงไต้ทำการปรับปรุงการให้คะแนนในส่วนต่าง ๆ โดยใช้ Analytical Hierarchy Process (AHP) เข้ามาช่วย แม้ว่าการปรับปรุงดังกล่าวจะสามารถลดจุดด้อยของการให้คะแนนแบบเดิมไปได้แต่ จากการทดลองใชวิธีการให้คะแนนที่นำ AHP เข้ามาช่วยพบว่า วิธีดังกล่าวมีข้อเสียคือ ก่อให้เกิดความยุ่งยากในการคำนวณ ทำให้เกิดความสับสนโดยเฉพาะเมื่อผู้ใช้ไม่มีความรู้เรื่องทฤษฎีเกี่ยวกับ AHP และลักษณะของการเปรียบเทียบเป็นคู่ก่อให้เกิดการจำกำดจำนวนความต้องการที่จะนำมาพิจารณาเปรียบเทียบ แต่อย่างไรก็ตามเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่ถูกต้องและตรงต่อความรู้สึกของผู้ประเมินมากที่สุด การ นำ AHP มาช่วยในการตัดสินใจจึงเป็นวิธีการที่ดีและเหมาะสมมากกว่าการตัดสินใจแบบดั้งเดิมที่ใช้อยู่ใน QFD และเรายังสามารถลดความยุ่งยากสับสนของวิธีการดังกล่าวได้โดย การจัดกลุ่มความต้องการของลูกค้าให้มีจำนวนความต้องการของลูกค้าในแต่ละกลุ่มไม่มากจนเกินไป การส่งแบบสอบถามจำนวนมากขึ้น เพื่อคัดเลือกเฉพาะข้อมูลที่มีค่าความไม่อยู่กับร่องกับรอยของการตัดสินใจอยู่ในค่าที่ยอมรับได้ และแม้แต่การนำเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยลดความยุ่งยากในการคำนวณ | - |
dc.description.abstractalternative | Quality Function Deployment (QFD) is a technique used for assisting manufacturers in planning their products. The mechanism of QD begins with identifying customers’ requirements and deploying through their demands at any time. Technical demand, design demand, critical characteristics of parts of the product, critical processes, and operational planning needs are facilitated by putting them in matrix format. T h ese plans are arranged according to their importance depending on the relationships between demand and its associated weight of importance of the demand. Important values are obtained from opinion of customers and team of manufacturers. Conventionally, important values are given in absolute points. This approach has many disadvantages, for example, decision in consistency, different bases used while making different decisions, and that decision makers can ’t consider many need s at the same time and hence think that all the needs are of equal important. This research is focused on the improvement of mechanism used in convention al QFD. It is recommend that the decision makers should provide points of importance by using AHP (Analytical Hierarchy Process). Although this approach can reduce the weakness of the convention al point scoring, from the research experiments, it is found that this approach has disadvantages. Complicated calculations are needed while perhaps causing confusion to the users who do not have much knowledge about the theory of AHP. In addition, the characteristics of pairwise-comparison that bring about the limitation in term s o f the number of needs that can be compared for each question of interest. The research finds that using AHP in making decision s in QD is better than what is doing in convention al QFD. This can facilitate better data collection and reflect the real feeling of decision makers and customers. Their draw backs can be reduced by sending more questionnaires to customers and choosing only data that are consistent and acceptable as well as using computers in reducing the burden in complex calculations. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject | การกระจายการทำงานเชิงคุณภาพ | - |
dc.subject | กระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ | - |
dc.subject | อุตสาหกรรมโรงงาน | - |
dc.subject | ประกันคุณภาพ | - |
dc.title | การปรับปรุงเทคนิคการกระจายหน้าที่การทำงานเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีการของกระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ | - |
dc.title.alternative | Improvement of quality function deployment by the analytical hiererachy process | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมอุตสาหการ | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Rutjarek_ka_front_p.pdf | 1.15 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rutjarek_ka_ch1_p.pdf | 781.45 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Rutjarek_ka_ch2_p.pdf | 1.86 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rutjarek_ka_ch3_p.pdf | 2.64 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rutjarek_ka_ch4_p.pdf | 1.34 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rutjarek_ka_ch5_p.pdf | 1.71 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rutjarek_ka_ch6_p.pdf | 1.35 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rutjarek_ka_ch7_p.pdf | 1.49 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rutjarek_ka_ch8_p.pdf | 1 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rutjarek_ka_back_p.pdf | 5.84 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.