Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67729
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิรัตน์ เพ็ชรศิริ-
dc.contributor.authorปองศักดิ์ นันทเสน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-08-27T04:28:07Z-
dc.date.available2020-08-27T04:28:07Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743345752-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67729-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542-
dc.description.abstractบทบาทของฝ่ายปกครองในกระบวนการยุติธรรมทางอาญานั้น มีมาตั้งแต่อดีตและถือว่าเป็นหน้าที่หลักประการหนึ่งของฝ่ายปกครอง ต่อมาบทบาทของฝ่ายปกครองในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาได้มีการเปลี่ยนแปลงไปทั้งในทางกฎหมายและความเป็นจริง โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายหลังรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มีผลบังคับใช้บทบาทของฝ่ายปกครองในเรื่องการตรวจสอบ ดูแล งานในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของฝ่ายบริหารก็เป็นหน้าที่ของฝ่ายตุลาการและฝ่ายอื่นๆ แทน จากการศึกษาวิจัยพบว่าฝ่ายปกครองยังมีความเหมาะสมกับงานในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในหลายๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องทรัพยากรบุคคล ความรู้ ความชำนาญในงานเฉพาะเรื่อง เช่น การเลือกตั้ง ฯลฯ ดังนั้น วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เสนอว่า บทบาทของฝ่ายปกครองในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาภายใต้บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ควรจะมีบทบาทในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาอยู่ต่อไป โดยควรรับผิดชอบงานในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในเรื่องของการสืบสวน สอบสวน และดำเนินคดีอาญาในส่วนที่ฝ่ายปกครองมีความรู้ ความชำนาญ และปฏิบัติอยู่เป็นปกติ เช่น คดีความผิดเกี่ยวกับงานทะเบียนต่างๆ ในหน้าที่ของฝ่ายปกครอง เป็นต้นนอกจากนี้คดีบางประเภท เช่น คดีความผิดเกี่ยวกับการเลือกตั้ง, คดีความผิดเกี่ยวกับยาเสพย์ติดฝ่ายปกครองควรเข้ามาดำเนินการช่วยเหลือสนับสนุน เพราะมีความพร้อมในแง่ของความชำนาญและทรพัยากรในการบริหาร นอกจากนี้ฝ่ายปกครองควรมีบทบาทหน้าที่ในการรับผิดชอบเรื่องของการอำนวยความยุติธรรมทางอาญาแก่ประชาชนเช่นเดิมอยู่ต่อไปและควรมีบทบาทในการช่วยเหลือสนับสนุนงานในเรื่องการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพแก่ประชาชนตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญในส่นที่ฝ่ายปกครองมีความเหมาะสม-
dc.description.abstractalternativeRoles of administrative officers in criminal justice process existed in the past and were deemed as the principal responsibility of Thai civil administration. Subsequently these roles have been changed in both legal and practical realities. Particularly after the promulgation of the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2540. Thereafter the roles of administrative officers pertaining to the overseeing and reviewing of the criminal justice administration were mostly transferred to the judiciary and other state organs. Research result reveals that civil administration officers are still appropriate to many tasks of criminal justice administration particularly those that require special administrative experiences such as offenses under the election law, et cetera. Besides, human resource, knowledge and experience in the civil administration are abundant and should not be under utilized. This thesis proposes that the roles of civil administrators in criminal justice process should be maintained, particularly for those tasks which the civil administrators have long been overseen and under their lines of practice, for example. Offenses against public registrations of various kinds. Moreover, in certain cases - such as offenses according to election statutes or drug offenses - where civil administrative officers have already gained experience in both legal and administrative aspects, civil administration officers ought to assist other agencies as well. Finally, administrative officers should continue to be responsible for the administration of justice and ought to play an important role in supporting the process particularly with regard to the upholding of citizen rights under the Construction as it deems appropriate.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectกระบวนการยุติธรรมทางอาญา -- ไทย-
dc.subjectการสืบสวนคดีอาญา-
dc.titleบทบาทของฝ่ายปกครองในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาภายใต้บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540-
dc.title.alternativeThe role of administration officers in criminal justice process under the Constitution of Kingdom Thailand B.E. 2540-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pongsak_na_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ897.72 kBAdobe PDFView/Open
Pongsak_na_ch1_p.pdfบทที่ 1764.95 kBAdobe PDFView/Open
Pongsak_na_ch2_p.pdfบทที่ 21.98 MBAdobe PDFView/Open
Pongsak_na_ch3_p.pdfบทที่ 32.03 MBAdobe PDFView/Open
Pongsak_na_ch4_p.pdfบทที่ 41.45 MBAdobe PDFView/Open
Pongsak_na_ch5_p.pdfบทที่ 5841.64 kBAdobe PDFView/Open
Pongsak_na_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก861.28 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.