Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69144
Title: Development of key performance indicators for production in a squid snacks factory
Other Titles: การพัฒนาดัชนีชี้วัดผลสำเร็จในการผลิต สำหรับโรงงานผลิตปลาหมึกบดและอบกรอบปรุงรส
Authors: Suwitchaya Lertwisut
Advisors: Suthas Ratanakuakangwan
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Subjects: Industrial efficiency
Snack food industry
Indicators
ประสิทธิภาพทางอุตสาหกรรม
เครื่องชี้วัด
เครื่องชี้วัด
เครื่องชี้วัด
Issue Date: 2003
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This study concerns development of Key Performance Indicators (KPIs) at production in a squid snacks factory, the factory has operated by using three KPIs namely quantity of product, raw material used and quantity of defect. They are still insufficient to control and measure the performance. The factory has faced with many problems such as mis-planned production, ineffective production resource utilization and insufficient data collection. It suggests that more KPIs are the crucial keys for this factory to solve the problems mentioned earlier. This study starts from setting the plan foe developing KPIs. Next, a working team is set to brainstorming session in order to determine the appropriate KPIs. Strength and weakness analysis, setting objects, identify critical success factors, collecting relevant performance indicators in production and making a decision to select the appropriate KPIs corresponding to functions and critical success factors are the responsibility of the working team. After selecting the appropriate KPIs for this factory, the next step is statistical test. The outcome is there are some indicators that cannot measure the performance because of unstable result. Therefore, the factory should improve the performance of stable indicators. In addition, for unstable indicators the factory has to set the standard to control in order to keep them stable.
Other Abstract: การศึกษานี้เกี่ยวกับการพัฒนาดัชนีชี้วัดผลสำเร็จในการผลิตสำหรับโรงงานผลิตปลาหมึกบดและอบกรอบปรุงรส ในปัจจุบันโรงงานมีดัชนี้ชี้วัดผลสำเร็จในการผลิต 3 ดัชนีคือ จำนวนผลผลิต, จำนวนวัตถุดิบที่ใช้, และจำนวนของเสีย แต่ยังไม่เพียงพอในการควบคุมและวัดประสิทธิภาพ โรงงานยังคงประสบปัญหาการผลิตไม่ทันตามแผน, การใช้ทรัพยากรทางการผลิตได้อย่างไม่เต็มประสิทธิภาพ, และการเก็บข้อมูลไม่เพียงพอ การที่โรงงานจะมีดัชนีชี้วัดผลสำเร็จในการผลิตมากกว่านี้ เป็นสิ่งสำคัญเพื่อที่จะแก้ปัญหาที่กล่าวมาข้างต้น ขั้นตอนการศึกษาเริ่มด้วยการจัดทำแผนการพัฒนาดัชนีชี้วัดผลสำเร็จ จากนั้นทำการจัดตั้งทีมงานเพื่อคัดเลือกดัชนีชี้วัดผลสำเร็จที่เหมาะสมกับโรงงาน การวิเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อนของโรงงาน กำหนดวัตถุประสงค์ กำหนดจุดวิกฤตของความสำเร็จ รวบรวมดัชนีชี้วัดผลสำเร็จที่เกี่ยวข้องกับการผลิตมาทั้งหมด และคัดเลือกดัชนีชี้วัดผลสำเร็จที่สอดคล้องกับหน้าที่และจุดวิกฤตของความสำเร็จเป็นหน้าที่ของทีมที่ตั้งขึ้น หลังจากที่ได้ดัชนีที่เหมาะสมกับโรงงานแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการทดสอบทางสถิติ ผลลัพธ์ออกมามีบางตัวที่ไม่สามารถวัดประสิทธิภาพได้ อันเนื่องมาจากความไม่แน่นอนและไม่คงที่ (unstable) ของผลลัพธ์ ดังนั้นจึงได้เสนอแนะสำหรับตัววัดที่แน่นอน (stable) ต้องมีการปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น สำหรับตัววัดที่ไม่แน่นอน (unstable) จำเป็นที่จะต้องมีการปรับปรุงเกี่ยวกับระบบมาตรฐานการควบคุม
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2003
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Engineering Management
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69144
ISBN: 9741734166
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suwitchaya_le_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ879.35 kBAdobe PDFView/Open
Suwitchaya_le_ch1_p.pdfบทที่ 1655.98 kBAdobe PDFView/Open
Suwitchaya_le_ch2_p.pdfบทที่ 21.19 MBAdobe PDFView/Open
Suwitchaya_le_ch3_p.pdfบทที่ 31.03 MBAdobe PDFView/Open
Suwitchaya_le_ch4_p.pdfบทที่ 41.97 MBAdobe PDFView/Open
Suwitchaya_le_ch5_p.pdfบทที่ 5826.43 kBAdobe PDFView/Open
Suwitchaya_le_ch6_p.pdfบทที่ 6677.95 kBAdobe PDFView/Open
Suwitchaya_le_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก2.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.