Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70781
Title: Preparation and characterization of carboxymethyl-chitin/silk fibroin blend films
Other Titles: การเตรียมและวิเคราะห์ของฟิล์มที่ได้จากการผสมระหว่างซีเอ็ม-ไคตินและซิลไฟโบรอีน
Authors: Krittiya Meanjai
Advisors: Ratana Rujiravanit
Tokura, Seiichi
Other author: Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
Advisor's Email: Ratana.R@Chula.ac.th
No information provided
Subjects: Polymers
โพลิเมอร์
Issue Date: 2002
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: CM-chitin/silk fibroin blend films were prepared by solvent casting method. The effects of CM-chitin to silk fibroin ratio and cross-linking agent on swelling behavior and mechanical properties of the blend films were studied. The blend films exhibited a change in the degree of swelling when the blend films were immersed in both acidic and alkaline solutions. The degree of swelling of the films increased as the CM-chitin content increased. It appeared that cross-linking occurred in the blend films reduced the swelling capacity of the films. For the study on effect of salt type, the films were immersed in various types of aqueous salt solutions, i.e., NaCl, LiCl, CaCl2, and FeCl3. Among these salts, the film immersed in NaCl, LiCl, and CaCl2 had higher degree of swelling than in FeCl3. The tensile strength increased with the increasing of the amount of cross-linking agent whereas the elongation at break decreased.
Other Abstract: ฟิล์มของสารพอลิเมอร์ผสมระหว่างซีเอ็ม-ไคตินและซิลไฟโบรอินได้ถูกเตรียมขึ้นในอัตราส่วนของพอลิเมอร์ต่าง ๆ กันทั้งที่เติมและไม่เติมกลูตารัลดีไฮด์ซึ่งเป็นสารก่อการเชื่อมโยง ในงานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาถึงอิทธิพลของอัตราส่วนระหว่างซีเอ็ม-ไคตินและซิลไฟโบรอินและสารก่อการเชื่อมโยงต่อพฤติกรรมการบวมตัวและสมบัติทางกลของฟิล์มสารพอลิเมอร์ผสม สำหรับพฤติกรรมการบวมตัวของฟิล์มของพอลิเมอร์ผสมดังกล่าว พบว่า ฟิล์มของพอลิเมอร์ผสมเกิดการบวมตัวในสารละลายบัฟเฟอร์ที่เป็นเบสและกรดรวมทั้งในสารละลายเกลือโดยเมือโดยเมื่อปริมาณซีเอ็ม-ไคนิตเพิ่มขึ้น การบวมตัวของแผ่นฟิล์มของพอลิเมอร์ผสมจะเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ เมื่อปริมาณสารก่อการเชื่อมโยงที่เติมในฟิล์มของพอลิเมอร์ผสมเพิ่มขึ้นการบวมตัวของแผ่นฟิล์มจะมีค่าลดลงสำหรับผลของสารละลายเกลือต่อค่าการบวมตัว พบว่า ฟิล์มของพอลิเมอร์ผสมจะมีค่าการบวมตัวสูงเมื่ออยู่ในสารละลายเกลือโซเดียมคลอไรด์ ลิเธียมคลอไรด์ และแคลเซียมคลอไรด์มากกว่าในสารละลายเกลือเฟอริกคลอไรด์ ในด้านสมบัติทางกล พบว่า ฟิล์มของสารผสมระหว่างซีเอ็ม-ไคตินและซิลไฟโบรอินเมื่อเติมสารก่อการเชื่อมโยงจะมีสมบัติการทนต่อแรงดึงสูงกว่าฟิล์มที่ไม่ได้เติมสารก่อการเชื่อมโยง นอกจากนี้เมื่อเปรียบเทียบค่าอัตราการเปลี่ยนแปลงความยาวต่อความยาวเดิมที่จุดขาดของฟิล์มระหว่างฟิล์มที่เติมและไม่เติมสารก่อการเชื่อมโยง พบว่าฟิล์มที่เติมสารก่อการเชื่อมโยงมีค่าอัตราการเปลี่ยนแปลงความยาวเดิมที่จุดขาดสูงกว่าฟิล์มที่ไม่เติมสารก่อการเชื่อมโยง
Description: Thesis (M.S.)--Chulalongkorn University, 2002
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Polymer Science
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70781
ISBN: 9740316026
Type: Thesis
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Krittiya_me_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ893.33 kBAdobe PDFView/Open
Krittiya_me_ch1_p.pdfบทที่ 1810.29 kBAdobe PDFView/Open
Krittiya_me_ch2_p.pdfบทที่ 2694.36 kBAdobe PDFView/Open
Krittiya_me_ch3_p.pdfบทที่ 3765.19 kBAdobe PDFView/Open
Krittiya_me_ch4_p.pdfบทที่ 41.17 MBAdobe PDFView/Open
Krittiya_me_ch5_p.pdfบทที่ 5604.48 kBAdobe PDFView/Open
Krittiya_me_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.