Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71084
Title: การบูชายัญในพระไตรปิฎก
Other Titles: Sacrifice in the Buddhist canonical texts
Authors: พระมหามานพ เจือจันทร์
Advisors: ทัศนีย์ สินสกุล
ประพจน์ อัศววิรุฬหการ
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: Tasanee.Si@Chula.ac.th
Prapod.A@Chula.ac.th
Subjects: พระไตรปิฎก
ความเชื่อ
พุทธศาสนา
ศาสนาพราหมณ์
Tripitaka
Belief and doubt
Buddhism
Brahmanism
Issue Date: 2540
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: วิทยานิพนธ์นี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาแนวคิดเรื่องการบูชายัญในพระไตรปิฎก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แนวคิดของพระพุทธเจ้าเมื่อตรัสตอบเรื่องนี้แก่ผู้มาฟ้าทูลถาม ผลการศึกษาวิจัยพบว่า การบูชายัญเป็นระบบสื่อสารระหว่างมนุษย์กับเทพเจ้า มีเครื่องสังเวย บูชาหลายชนิด รวมถึงสัตว์ต่าง ๆ ด้วย และมีไฟเป็นผู้สื่อสาร การบูชายัญเป็นศาสนกิจของพราหมณ์ มีมาตั้งแต่ก่อนสมัยพระเวท พระพุทธเจ้าทรงมองเห็นว่า การบูชายัญของพราหมณ์เป็นการสิ้นเปลือง และบ่งบอกถึงความโหดร้ายทารุณ ดังนั้น จึงทรงตำหนิความฟุ่มเฟือยของพิธีกรรมและคัดค้านการฆ่าสัตว์บูชายัญ แล้วทรงแสดงให้เห็นถึงยัญที่ถูกต้องในแนวพุทธ คือการปรับพฤติกรรมที่พึงประสงค์ นับตั้งแต่การให้ทานเป็นประจำ การยอมรับนับถือพระรัตนตรัย การรักษาศีล การบำเพ็ญฌานและสมาธิ การทำพระนิพพานให้แจ้ง นอกเหนือจากนี้ พระพุทธเจ้ายังทรงเห็นว่า การบูชายัญควรจะประกอบขึ้นเพื่อประโยชน์แก่หมู่ชน เป็นสำคัญ
Other Abstract: The purpose of this Thesis is to investigate the concept of sacrifice in Buddhist Canonical Texts especially the answers given by the Buddha when he was asked by religious leaders of the time. Sacrifice was a means through which men communicated with deities. It was a ritual involving several kinds of offerings and had to be officiated by brahmana who normally used fire as the messenger to render the offerings to the gods. Sacrifice was an old practice that went back beyond the Vedic ages. Buddha criticized the performing of sacrifice on the ground of its being useless, extravagant and violent. He interpreted and preached that sacrifice should be done morally and ethically by improvement in one’s behavior by giving (dana), respecting the three gems, observing the precepts practicing meditation and attaining enlightenment. He also emphasized that sacrifice should be done for the benefit of the masses.
Description: วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540
Degree Name: อักษรศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: ภาษาบาลีและสันสกฤต
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71084
ISSN: 9746388711
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Phramaha manop_ch_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ440.49 kBAdobe PDFView/Open
Phramaha manop_ch_ch1.pdfบทที่ 1161.29 kBAdobe PDFView/Open
Phramaha manop_ch_ch2.pdfบทที่ 21.04 MBAdobe PDFView/Open
Phramaha manop_ch_ch3.pdfบทที่ 31.24 MBAdobe PDFView/Open
Phramaha manop_ch_ch4.pdfบทที่ 4913.8 kBAdobe PDFView/Open
Phramaha manop_ch_ch5.pdfบทที่ 53.26 MBAdobe PDFView/Open
Phramaha manop_ch_ch6.pdfบทที่ 6147.19 kBAdobe PDFView/Open
Phramaha manop_ch_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก700.67 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.