Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72014
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประนอม โอทกานนท์-
dc.contributor.authorลำใย มูสิกะคามะ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-01-28T04:34:46Z-
dc.date.available2021-01-28T04:34:46Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.isbn9746327534-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72014-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความรู้ เจตคติ และการปฏิบัติการพยาบาลผู้สูงอายุของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลเขตกรุงเทพมหานคร ทั้งภาครัฐและเอกชน จำแนกตาม ประสบการณ์การทางาน แผนกที่ปฏิบัติงาน การได้รับการอบรมเรื่องการพยาบาลผู้สูงอายุ และการมีผู้สูงอายุในครอบครัว ผลการวิจัยพบว่า 1. พยาบาลวิชาชีพมีความรู้ในระดับน้อย มีเจตคติทางบวก และมีการปฏิบัติการพยาบาลในระดับมาก 2. พยาบาลวิชาชีพที่มีความแตกต่างกันในด้านประสบการณ์การทำงาน แผนกที่ปฏิบัติงาน การได้รับการอบรมเรื่องการพยาบาลผู้สูงอายุ และการมีผู้สูงอายุในครอบครัว มีความรู้และการปฏิบัติ การพยาบาลผู้สูงอายุไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. พยาบาลวิชาชีพที่มีความแตกต่างกันในด้านประสบการณ์การทำงาน แผนกที่ปฏิบัติงานและการได้รับการอบรมเรื่องการพยาบาลผู้สูงอายุ มีเจตคติต่อการพยาบาลผู้สูงอายุไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 พยาบาลวิชาชีพที่มีผู้สูงอายุในครอบครัวแตกต่างกัน มีเจตคติต่อการพยาบาลผู้สูงอายุแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 พยาบาลวิชาชีพที่มีผู้สูงอายุในครอบครัว มีเจตคติต่อการพยาบาล ผู้สูงอายุดีกว่ากลุ่มที่ไม่มีผู้สูงอายุในครอบครัว-
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study and compare knowledge, attitude, and practice in gerontological nursing of professional nurses in hospitals, Bangkok Metropolitan Area. The subjects were classified according to their experiences, work place, gerontological training and one who had elderly at home. The major findings were as follows. 1. The professional nurses had knowledge of gerontological nursing at low level, positive attitude, and the practice was in high level. 2. There Were no statistically significant difference at .05 level of knowledge and practices in gerontological nursing of professional nurses as classified by their experiences, work place, gerontological training, and one who had elderly at home. 3. There were no statistically significant difference at .05 level of attitude toward gerontological nursing of professional nurses as classified by their experiences, work place, gerontological training. There was statistically significant difference at .05 level of attitude toward gerontological nursing of professional nurses between one who had elderly at home and one who had none. One who had elderly at home had more positive attitude than those who had none.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการพัฒนาบุคลากรen_US
dc.subjectผู้สูงอายุ -- การดูแลen_US
dc.subjectพยาบาลกับผู้ป่วยen_US
dc.titleความรู้ เจตคติและการปฏิบัติการพยาบาลผู้สูงอายุ ที่รับการรักษาในโรงพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลเขตกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeKnowledge, attitude, and practice of gerontological nursing on hospitalized elderly of professional nurses in hospitals, Bangkok metropolitan areaen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorDpnanom@Hotmail.com-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Lamyai_mu_front_p.pdf1.01 MBAdobe PDFView/Open
Lamyai_mu_ch1_p.pdf1.11 MBAdobe PDFView/Open
Lamyai_mu_ch2_p.pdf4.35 MBAdobe PDFView/Open
Lamyai_mu_ch3_p.pdf1.22 MBAdobe PDFView/Open
Lamyai_mu_ch4_p.pdf1.28 MBAdobe PDFView/Open
Lamyai_mu_ch5_p.pdf1.48 MBAdobe PDFView/Open
Lamyai_mu_back_p.pdf2.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.