Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72263
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorตรีศิลป์ บุญขจร-
dc.contributor.advisorมณฑา พิมพ์ทอง-
dc.contributor.authorฮิรามัทซึ, ฮิเดกิ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-02-11T12:36:08Z-
dc.date.available2021-02-11T12:36:08Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9740300316-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72263-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาอิทธิพลของปรัชญาอัตกิภาวนิยมที่มีต่อวรรณกรรมของ เค็นสะบุโระ โอเอะ กับ ชาติ กอบจิตติ เพื่อวิเคราะห์แนวคิดที่แสดงถึงปรัชญาอัตถิภาวนิยม ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตน ผลการวิจัยพบว่าเค็นสะบุโร โอเอะ กับชาติ กอบจิตติ แสดงให้เห็นถึงการแสวงหาอัตถิภาวนิยมที่แท้จริงในวรรณกรรมด้วยการปฏิเสธการดำรงชีวิตอย่างจอมปลอมที่เรียกว่าเป็นการหลอกตัวเอง เมื่อพิจารณาจากลักษณะของแก่นความคิดสำคัญซึ่งเป็นปัจจัยที่ทำให้วรรณกรรมของนักประพันธ์ทั้งสองท่านที่มีทั้งส่วนที่คล้ายคลึงและแตกต่างกัน วรรณกรรมของนักประพันธ์ทั้งสองคนมีพัฒนาการที่สามารถแบ่งได้เป็น 3 ระดับ กล่าวคือ วรรณกรรมของโอเอะ ในระยะแสดงอัตถิภาวะในแง่ที่ “ถูกกักกัน” “ไม่มีทางออก" เหมือน “ถูกกักกันอยู่ในกำแพง’' ระยะที่สอง เป็นการแสดงออกถึงการเลือกด้วยเจตนาอันเป็นการแสดงถึง อัตถิภาวะอย่างแท้จริงเป็นการแสดงออกถึงอัตถิภาวะในแง่ที่เป็นความรับผิดชอบ วรรณกรรมของชาติ กอบจิตติ ในระยะแรก ดูจะขาดความชัดเจนในการนำเสนออัตถิภาวนิยม ในระยะที่สาม เป็นการแสดงถึงอัตถิภาวะที่สมบูรณ์ ส่วนในระยะที่สาม เป็นพัฒนาการอีกขั้นหนึ่งซึ่งมีลักษณะเฉพาะตัวซึ่งเรียกได้ว่าเป็น "อัตถิภาวนิยมแนวพุทธศาสนา” นอกจากนั้น ผลการวิจัยยังชี้ให้เห็นว่า ผลงานทั้งหมดของโอเอะและชาติ กอบจิตติ เป็นการแสวงหาอัตถิภาวนิยมอย่างแท้จริง ซึ่งเป็นการหาทางหลีกหนีไปจากโลกแห่งการหลอกลวง แต่ข้อแตกต่างในวรรณกรรมของนักเขียนทั้งสองคนคือ ตัวละครของโอเอะจะแสดงอัตถิภาวะด้วยวิธีการเป็นฝ่ายกระทำใน ขณะที่ตัวละครของชาติ กอบจิตติจะแสวงหาอัตกิภาวะด้วยวิธีการเป็นฝ่ายถูกกระทำen_US
dc.description.abstractalternativeThis thesis is aimed at studying the influence of Existentialism on Kenzaburo Oe’s and Chart Kopchitti's literary works, and to analyze the difference between the two authors' concepts of Existentialism. The study reveals that both Oe’s and Chart’s works present the search for authentic existence by rejecting inauthentic existence, which can be considered as self-deception. With the same controlling theme of existentialism and the divergences in the treatment of the theme, the works of each writer can be divided into 3 stages: In the first phase of Oe’s works, the writer perceives existence as the condition of being “confined,” “denied exit,” and “walled in." เท the second period, authentic existence in Oe’s view lies in one’s ability to choose according to one’s own will whereas in the last stage, existence is seen as being in each individual’s responsibility. On the other hand, Chart's perception of existentialism does not appear very clearly in his works of the first stage. His works of the second period, however, fully follow “mainstream” western existentialists in presenting existentialist ideals. At the later phase, Chart’s existentialism has developed into a unique concept which can be called “Buddhist existentialism." The result of the research shows that Oe’s and Chart Kopchitti's works present the theme of the search for authentic existence, or the search for the escape from the world of deception. However, the two writers deal with this theme differently: while Oe’s characters create authentic existence by their own actions, authentic existence in Chart's characters can be seen in their being acted upon.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโอเอะ, เคนสะบุโร, ค.ศ.1935- -- การวิจารณ์และการตีความen_US
dc.subjectชาติ กอบจิตติ -- การวิจารณ์และการตีความen_US
dc.subjectวรรณคดีเปรียบเทียบen_US
dc.subjectอัตถิภาวนิยมในวรรณกรรมen_US
dc.subjectอัตถิภาวนิยมen_US
dc.titleอัตถิภาวนิยมในวรรณกรรมของเค็นสะบุโร โอเอะ กับชาติ กอบจิตen_US
dc.title.alternativeExistentialsm in Kenzaburo Oe's and Chart Kopchitti's literary worksen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวรรณคดีเปรียบเทียบen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Hideki_hi_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ774.63 kBAdobe PDFView/Open
Hideki_hi_ch1_p.pdfบทที่ 1762.64 kBAdobe PDFView/Open
Hideki_hi_ch2_p.pdfบทที่ 21.62 MBAdobe PDFView/Open
Hideki_hi_ch3_p.pdfบทที่ 31.37 MBAdobe PDFView/Open
Hideki_hi_ch4_p.pdfบทที่ 41.22 MBAdobe PDFView/Open
Hideki_hi_ch5_p.pdfบทที่ 5766.32 kBAdobe PDFView/Open
Hideki_hi_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก720.25 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.