Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73906
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิรางค์ ทับสายทอง | - |
dc.contributor.author | สุภาวดี เดชาเกรียงศักดิ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2021-06-21T03:05:32Z | - |
dc.date.available | 2021-06-21T03:05:32Z | - |
dc.date.issued | 2535 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73906 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับความพึงพอใจในชีวิตสมรสของสตรีสมรสวัยผู้ใหญ่ตอนต้นที่ทำงานแล้ว ในเขตกรุงเทพมหานคร จากกลุ่มตัวอย่าง 300 คน ตอบแบบสอบถามและแบบวัดความพึงพอใจในชีวิตสมรสของ Rosch และคณะ (1981) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพื้นฐานและสมการถดถอยมาตรฐานพหุคุณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. สตรีสมรสวัยผู้ใหญ่ตอนต้นที่ทำงานแล้วในเขตกรุงเทพมหานคร มีความพึงพอใจในชีวิตสมรสอยู่ในระดับปานกลาง (x̅ = 165.92) 2. ประสิทธิภาพของการสื่อสารเป็นปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความพึงพอใจในชีวิตสมรส ในระดับสูงสุด (r = .795 ; p < .001) 3. ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความพึงพอใจในชีวิตสมรส รองลงมาตามลำดับได้แก่ความเป็นเพื่อนคู่ชีวิต (r = .763) ความเสียเปรียบสัมพันธ์ (r = .669) ความสมานฉันท์ทางบทบาท (r = .632) การได้รับการยอมรับจากบุคคลที่มีความสำคัญในชีวิต คือ พ่อแม่ของสตรี (r = .288) คุณภาพชีวิตสมรสของบิดามารดา (r = .280) พ่อแม่ของคู่สมรส (r = .223) ญาติพี่น้องของสตรี (r = .221) ระดับการศึกษา (r = .180) รายได้ของครอบครัว (r = .149) และญาติพี่น้องของคู่สมรส (r = .121) 4. กลุ่มตัวแปรที่สามารถร่วมกันทำนายความพึงพอใจในชีวิตสมรสได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 มี 6 ตัวแปร เรียงลำดับความสำคัญในการทำนายจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ความเป็นเพื่อนคู่ชีวิต (B = .380) ประสิทธิภาพของการสื่อสาร (B = .355) ความเสียเปรียบสัมพันธ์ (B = .182) การได้รับการยอมรับจากบุคคลที่มีความสำคัญในชีวิต คือ พ่อแม่ของสตรี (B = .091) ระดับการศึกษา (B = .076) และคุณภาพชีวิตสมรสของบิดามารดา (B = .065) สามารถร่วมกันอธิบายความผันแปรของความพึงพอใจในชีวิตสมรสได้ร้อยละ 75.19 (R² = .7519) และมีสมการในรูปคะแนนมาตรฐานดังนี้ MSSZ = .355*ECSZ + .380*CSS + .182*RDSZ + .091*Y81Z + .076*Y4Z + .065*QMPZ | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to study the relationships between selected factors and marital satisfaction of early adult married working women in Bangkok Metropolis. Three hundred samples completed the Questionnaires and Roach’s Marital Satisfaction Scale (1981). Basic statistics and stepwise multiple regression analysis were used to analyze the data. Major findings were as follows: 1. Medium level of marital satisfaction was found early adult married working women in Bangkok Metropolis (x̅ = 165.92). 2. Effective communication positively correlated with marital satisfaction at the highest level (r = .795; p < .001) 3. Companionship (r = .763), relative deprivation (r = .669), role consensus (r = .632), accepting from the significant persons in life (your parents) (r = .288), quality of marital status of parents (r = .280), husband’s parents (r = .223), educational level (r = .180), family income (r = .149) and husband’s relatives (r = .121) positively correlated with marital satisfaction. 4. Six selected factors which could be used as predictors of marital satisfaction (R² = .7519) were ranked in their power of prediction as follows: Effective communication, Relative deprivation, accepting from the significant persons in life (your parents), educational level, and quality of marital status of parents. The regression equation in standard score (MSSZ) was MSS = .355* ECSZ + .380* CSSZ + .182* RDSZ + .091* Y81Z + .076* Y4Z + .065* QMPZ | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | สตรีที่สมรส -- แง่จิตวิทยา | en_US |
dc.subject | Married women -- Psychological aspects | en_US |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยจัดสรรกับความพึงพอใจในชีวิตสมรส ของสตรีสมรสวัยผู้ใหญ่ตอนต้นที่ทำงานแล้ว ในเขตกรุงเทพมหานคร | en_US |
dc.title.alternative | The relationships between selected factors and marital satisfaction of early adult married working women in Bangkok metropolis | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | จิตวิทยา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Supawadee_de_front_p.pdf | 948.75 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Supawadee_de_ch1_p.pdf | 2.85 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Supawadee_de_ch2_p.pdf | 1.39 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Supawadee_de_ch3_p.pdf | 1.24 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Supawadee_de_ch4_p.pdf | 1.25 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Supawadee_de_ch5_p.pdf | 735.91 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Supawadee_de_back_p.pdf | 1.43 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.