Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74665
Title: การศึกษาการใช้การบำบัดทางความคิดและพฤติกรรมต่อความวิตกกังวลในผู้ป่วยโรควิตกกังวลโรงพยาบาลพยาบาลสถานพระบารมี จังหวัดกาญจนบุรี
Other Titles: A study of using cognitive behavior therapy on anxiety of generalized anxiety disorder patients, Payabansathanprabaramee Hospital, Kanchanaburi Province
Authors: รัญชนา ขุนนางจ่า
Advisors: เพ็ญพักตร์ อุทิศ
Advisor's Email: Penpaktr.U@Chula.ac.th
Subjects: ความวิตกกังวล
จิตบำบัดแบบความคิดปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -- ไทย
Anxiety
Cognitive therapy -- Thailand
Issue Date: 2551
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การศึกษาโครงการอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความวิตกกังวลของผู้ป่วยโรควิตกกังวล ก่อนและหลังการได้รับการบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรควิตกกังจำนวน 20 คน ซึ่งได้รับการคัดเลือกตามเกณฑ์คุณสมบัติจากแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลพยาบาลสถานพระบารมี เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วย แผนกการใช้การบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม แบบวัดความวิตกกังวลขณะเผชิญ(State Anxiety) ของ Spielberger (1967) และแบบประเมินความคิดอัตโนมัติด้านลบของ Hollon & Kendoll(1980) โดยเครื่องมือทั้ง 3 ชุด ได้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช จำนวน 3 ท่าน เครื่องมือ 2 ชุดหลังมีค่าความเที่ยงสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ .82 และ.95 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบคาที (paired t-test) ผลการศึกษาที่สำคัญ สรุปได้ดังนี้ ความวิตกกังวลของผู้ป่วยโรควิตกกังวลหลังได้รับการบำบัดทางความคิดและพฤติกรรมลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 4.97 )
Other Abstract: The purposes of this independent study was to compare the anxiety of patients with anxiety disorder before and after receiving the cognitive behavior therapy. The study samples of 20 patients with anxiety disorder who met the inclusion criteria were recrcuited from out-patient unit, Payabansathanprabaramee hospital. The instrumcnts for this study were the cognitive behavior therapy plan, Spielberger State Anxiety inventory and Automatic Thoughts Questionnaire. All instrument were validated for content validity by three professional experts.The Cronbach’s Alpha Coefficient reliability of the two latter instruments were .82 and .95, respectively. Statistical techniques used for data analysis were percentage, mean standard deviation and paired t-test. The major findings were as follows: Anxiety of patients with anxiety disorder who received the cognitive behavior therapy was significantly lower than that before at the .05 level (t = 4.97)
Description: สารนิพนธ์ (พย.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551
Degree Name: พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74665
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.2121
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2008.2121
Type: Independent Study
Appears in Collections:Nurse - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Runchana_ku_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ867.21 kBAdobe PDFView/Open
Runchana_ku_ch1_p.pdfบทที่ 11.57 MBAdobe PDFView/Open
Runchana_ku_ch2_p.pdfบทที่ 22.41 MBAdobe PDFView/Open
Runchana_ku_ch3_p.pdfบทที่ 32.01 MBAdobe PDFView/Open
Runchana_ku_ch4_p.pdfบทที่ 4724.76 kBAdobe PDFView/Open
Runchana_ku_ch5_p.pdfบทที่ 51.3 MBAdobe PDFView/Open
Runchana_ku_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก2.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.