Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74729
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลาวัณย์ วิทยาวุทฒิกุล-
dc.contributor.authorเฉลิมศรี วิวัฒน์วานิชกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-07-30T09:50:52Z-
dc.date.available2021-07-30T09:50:52Z-
dc.date.issued2536-
dc.identifier.isbn9745833312-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74729-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบมโนทัศน์เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตกรุงเทพมหานคร ที่มีสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของครอบครัวต่างกัน ตัวอย่างประชากรคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 450 คน จากโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2536 ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบชั้นหลายขั้นตอน (Multi-Stage Stratified Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบมโนทัศน์เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภค ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นเองโดยมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม (ANCOVA) และทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่โดยวิธีของเซฟเฟ (Scheffe’s Method) ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย กรุงเทพมหานคร มีมโนทัศน์เศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคระดับปานกลาง โดยมีค่ามัชฌิมเลขคณิต (x̅) เท่ากับ 35.89 จากคะแนนเต็ม 60 2. การเปรียบเทียบมโนทัศน์เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย กรุงเทพมหานคร พบว่า 2.1 นักเรียนที่บิดาและมารดามีอาชีพแตกต่างกันก็มีมโนทัศน์เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.2 นักเรียนที่ครอบครัวมีระดับรายได้แตกต่างกัน มีมโนทัศน์เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2.3 นักเรียนที่บิดาและมารดามีระดับการศึกษาแตกต่างกัน มีมโนทัศน์เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และที่ระดับ .05 ตามลำดับ ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่ตั้งไว้-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study and compare the consumer economics concepts of over all upper secondary school students and among students with different family socio-economic backgrounds in Bangkok Metropolis. The samples were 450 Mathayom Suksa Six students of the academic year 1993 in the secondary school under the jurisdiction of the Department of General Education, Bangkok Metropolis, selected by multi-stage stratified random sampling. The test on consumer economics concepts with a reliability of 0.91 was constructed by the researcher and administered to the samples. The data obtained were analyzed by means of percentage, arithmetic mean, standard deviation, analysis of covariance and Scheffe’s Method. The findings of the research were as follows: 1. The consumer economics concepts of the over all upper secondary school students in Bangkok Metropolis were at moderate level with an arithmetic mean of 35.89 from a total score of 60. 2. The comparison of consumer economics concepts of the upper secondary school students in Bangkok Methopolis: 2.1 The consumer economics concepts of the upper secondary school students with different occupation of fathers as well as of mothers were significantly different at the .05 level. The consumer economics concepts of the upper secondary school students with different family income levels were significantly different at the .01 level. 2.2 The consumer economics concepts of the upper secondary school students with different education level of fathers and mothers were significantly different at the .01and .05 level respectively. These results confirmed all hypotheses of the study.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectบริโภคกรรม (เศรษฐศาสตร์)-
dc.subjectการบริโภคอาหาร (เศรษฐศาสตร์)-
dc.subjectความคิดรวบยอด-
dc.subjectผู้บริโภค -- ทัศนคติ-
dc.subjectConsumption (Economics)-
dc.subjectFood consumption-
dc.subjectConcepts-
dc.subjectConsumers -- Attitudes-
dc.titleการศึกษามโนทัศน์เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย กรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeA study of consumer economics concepts of upper secondary school students, Bangkok metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineมัธยมศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chalermsri_vi_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ909.79 kBAdobe PDFView/Open
Chalermsri_vi_ch1_p.pdfบทที่ 11.33 MBAdobe PDFView/Open
Chalermsri_vi_ch2_p.pdfบทที่ 23.45 MBAdobe PDFView/Open
Chalermsri_vi_ch3_p.pdfบทที่ 3842.23 kBAdobe PDFView/Open
Chalermsri_vi_ch4_p.pdfบทที่ 41.08 MBAdobe PDFView/Open
Chalermsri_vi_ch5_p.pdfบทที่ 51.28 MBAdobe PDFView/Open
Chalermsri_vi_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก2.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.