Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8979
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อรวรรณ ปิลันธน์โอวาท | - |
dc.contributor.author | ปุณณจันทร์ วัฒนวงษ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.coverage.spatial | กรุงเทพมหานคร | - |
dc.date.accessioned | 2009-06-09T13:26:24Z | - |
dc.date.available | 2009-06-09T13:26:24Z | - |
dc.date.issued | 2540 | - |
dc.identifier.isbn | 9746390503 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8979 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางประชากร การเปิดรับสื่อ การรับรู้ประโยชน์ และความใฝ่ฝันที่เกี่ยวกับการเข้าเรียนวิชาทหารรักษาดินแดนของนักศึกษาวิชาทหารหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา จำนวน 430 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่า t-test, One-Way ANOVA และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน นำมาประมวลผลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป SPSS for Window ผลการวิจัยพบว่า 1. กลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะทางประชากร ได้แก่ อายุ, ประเภทสถานศึกษา, ระดับการศึกษา, ระดับชั้นปีที่ศึกษา และอาชีพของผู้ปกครองแตกต่างกัน มีการเปิดรับสื่อที่เกี่ยวกับการเข้าเรียนวิชาทหารรักษาดินแดนแตกต่างกัน ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่มีรายได้ของครอบครัวแตกต่างกัน มีการเปิดรับสื่อไม่แตกต่างกัน 2. กลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะทางประชากร ได้แก่ ประเภทสถานศึกษา, ระดับการศึกษา, ระดับชั้นปีที่ศึกษาแตกต่างกัน มีการรับรู้ประโยชน์ที่เกี่ยวกับการเข้าเรียนวิชาทหารรักษาดินแดนแตกต่างกัน ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่มีอายุ และรายได้ของครอบครัวแตกต่างกัน มีการรับรู้ประโยชน์ไม่แตกต่างกัน 3. กลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะทางประชากร ได้แก่ อายุ, ประเภทสถานศึกษา, ระดับการศึกษา, ระดับชั้นปีที่ศึกษาแตกต่างกัน มีความใฝ่ฝันที่เกี่ยวกับการเข้าเรียนวิชาทหารรักษาดินแดนแตกต่างกัน ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่มีรายได้ของครอบครัวแตกต่างกันมีความใฝ่ฝันไม่แตกต่างกัน 4. การเปิดรับสื่อที่เกี่ยวกับการเข้าเรียนวิชาทหารรักษาดินแดนมีความสัมพันธ์กับการรับรู้ประโยชน์ที่เกี่ยวกับการเข้าเรียนวิชาทหารรักษาดินแดน 5. การเปิดรับสื่อที่เกี่ยวกับการเข้าเรียนวิชาทหารรักษาดินแดนมีความสัมพันธ์กับความใฝ่ฝันที่เกี่ยวกับการเข้าเรียนวิชาทหารรักษาดินแดน 6. การรับรู้ประโยชน์ที่เกี่ยวกับการเข้าเรียนวิชาทหารรักษาดินแดนมีความสัมพันธ์กับความใฝ่ฝันที่เกี่ยวกับการเข้าเรียนวิชาทหารรักษาดินแดน | en |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to investigate the correlation among demographic aspects, media exposure, perceived utility, and aspiration for the military program of the female reserve officer training corps student in Bangkok. Questionnaires were used to collect data from a total of 430 samples. Frequency distribution, percentage, mean, and Pearson's Product Moment Correlation Coefficient were employed for the analysis of data. SPSS for Window program was used for data processing. The results of the study were as follows: 1. Differences in age, type of institution, educational level in both general curriculum and military defense training program, and parents' occupation reflected different media exposure manner, but the difference in family's income did not. 2. Differences in educational level in both general curriculum and military defense training program and type of institution reflected different perceived utility but the differences in gender and parent's occupation did not. 3. Differences in age, educational level in both general curriculum and military defense training program and type of institution reflects different aspiration but the differences in family's income did not. 4. Significant positive correlation was found between media exposure and perceived utility for the military defense training program. 5. Significant positive correlation was found between media exposure and aspiration for the military defense training program. 6. Significant positive correlation was found between perceived utility and aspiration for the military defense training program. | en |
dc.format.extent | 913329 bytes | - |
dc.format.extent | 906161 bytes | - |
dc.format.extent | 1409299 bytes | - |
dc.format.extent | 821432 bytes | - |
dc.format.extent | 1029379 bytes | - |
dc.format.extent | 1030434 bytes | - |
dc.format.extent | 817817 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การเปิดรับข่าวสาร | en |
dc.subject | นักศึกษาวิชาทหารหญิง | en |
dc.subject | การจูงใจ (จิตวิทยา) | en |
dc.subject | ความใฝ่ฝัน | en |
dc.subject | การศึกษาวิชาทหาร | en |
dc.title | การเปิดรับสื่อ การรับรู้ประโยชน์และความใฝ่ฝันที่ เกี่ยวกับการเข้าเรียนวิชาทหารรักษาดินแดนของนักศึกษาวิชาทหารหญิง ในเขตกรุงเทพมหานคร | en |
dc.title.alternative | Media exposure, perceived utility, and aspiration for the military defense training program of the female reserve officer training corps students in Bangkok | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | นิเทศศาสตรพัฒนาการ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Orawan.P@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Punnachan_Wa_front.pdf | 891.92 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Punnachan_Wa_ch1.pdf | 884.92 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Punnachan_Wa_ch2.pdf | 1.38 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Punnachan_Wa_ch3.pdf | 802.18 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Punnachan_Wa_ch4.pdf | 1.01 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Punnachan_Wa_ch5.pdf | 1.01 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Punnachan_Wa_back.pdf | 798.65 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.