Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9196
Title: การติดตั้งตัวเก็บประจุที่เหมาะสมในระบบจำหน่ายไฟฟ้ากำลัง
Other Titles: Optimal capacitor placement in a distribution system
Authors: เสริมชัย จารุวัฒนดิลก
Advisors: บัณฑิต เอื้ออาภรณ์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: Bundhit.E@chula.ac.th
Subjects: ตัวเก็บประจุไฟฟ้า
ระบบไฟฟ้ากำลัง
Issue Date: 2541
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: วิทยานิพนธ์ฉบับนี้นำเสนอวิธีการที่พัฒนาขึ้นสำหรับเลือกชนิด ขนาด และตำแหน่งของตัวเก็บประจุไฟฟ้าที่เหมาะสมในระบบจำหน่ายไฟฟ้ากำลังเพื่อลดกำลังสูญเสียและปรับปรุงระดับแรงดันในระบบให้ดีขึ้น ลักษณะของปัญหาที่พิจารณาเป็นการหาคำตอบที่เหมาะสมจากทางเลือกที่เป็นไปได้มากมาย วิธีการค้นหาคำตอบดังกล่าวอาศัยดัชนีความไวและกระบวนพิจารณาแบบต่อเนื่องซึ่งทำให้ได้รับคำตอบที่เหมาะสมแบบจำลองโหลดที่ใช้ในวิทยานิพนธ์นี้เป็นชนิดที่สอดคล้องกับความเป็นจริง คือมีการเปลี่ยนแปลงตามเวลาสำหรับการทดสอบวิธีที่พัฒนาขึ้นนี้ได้ใช้ระบบที่ดัดแปลงจากระบบจริงของการไฟฟ้านครหลวง และระบบของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจำนวน 3 ระบบ โดยเปรียบเทียบผลที่ได้รับจากการใช้ฟังก์ชันเป้าหมาย 2 แบบ คือ ฟังก์ชันเป้าหมายที่ต้องการหาค่าตอบแทนสูงสุดซึ่งเกิดขึ้นจากการติดตั้งตัวเก็บประจุ และฟังก์ชันเป้าหมายที่ต้องการหาค่าต่ำสุด ซึ่งเป็นมูลค่ารวมระหว่างการลงทุนติดตั้งตัวเก็บประจุและมูลค่าของพลังงานสูญเสียที่เกิดขึ้น ผลที่ได้รับจากการทดสอบ แสดงให้เห็นว่าวิธีการที่พัฒนาขึ้นสามารถให้ผลได้เป็นที่น่าพอใจยิ่ง
Other Abstract: This thesis presents a developed method for solving a capacitor placement problem in a distribution system to reduce system power loss and to improve the system voltage profile. The nature of this issue falls in to an optimization problem. To reduce size of the problem, the sensitivity index and successive search are used to obtain a feasible sub-optimum solution. An hourly load, which reflects the actual daily load, is employed in this thesis. The developed method was tested with three systems modified from the Metropolitan Electricity Authority (MEA) and the Provincial Electricity Authority (PEA). The tests used two different objective functions, i.e., maximization of the net cost saving from loss reduction, and minimization of the cost of energy loss plus the cost of the capacitor to be installed. Results of the study demonstrate that the developed method is very efficient in solving the capacitor placement problem.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมไฟฟ้า
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9196
ISBN: 9743316728
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sermchai_Ja_front.pdf748.53 kBAdobe PDFView/Open
Sermchai_Ja_ch1.pdf330.57 kBAdobe PDFView/Open
Sermchai_Ja_ch2.pdf537.27 kBAdobe PDFView/Open
Sermchai_Ja_ch3.pdf762.43 kBAdobe PDFView/Open
Sermchai_Ja_ch4.pdf693.55 kBAdobe PDFView/Open
Sermchai_Ja_ch5.pdf2.11 MBAdobe PDFView/Open
Sermchai_Ja_ch6.pdf255.46 kBAdobe PDFView/Open
Sermchai_Ja_back.pdf2.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.