Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24804
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ผุสดี ทิพทัส | - |
dc.contributor.advisor | ปิ่นรัชฏ์ กาญจนัษฐิติ | - |
dc.contributor.author | รัฐพล ศิลปอาชา | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-20T15:32:50Z | - |
dc.date.available | 2012-11-20T15:32:50Z | - |
dc.date.issued | 2545 | - |
dc.identifier.isbn | 9741731442 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24804 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอรายงานการศึกษาและแนวทางเบื้องต้นในการคืนสภาพอาคารที่สร้างขึ้นในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ฯภายในวัดตองปุอำเภอเมืองลพบุรี ขอบเขตของการวิจัยจะทำการศึกษารูปแบบทางสถาปัตยกรรม โครงสร้างและปัญหาทางกายภาพที่เกิดขึ้นของอาคารจำนวน 4 หลังภายในวัดคือ โบสถ์ วิหารมหาอุด วิหาร-คลัง และวิหารน้อย วิธีการวิจัยจะทำการเก็บข้อมูลตัวอย่างอาคารสมัยเดียวกันอื่น ๆ เพื่อศึกษาลักษณะทั่วไปและลักษณะเด่น พร้อมทั้งทำการสำรวจ รังวัดเก็บข้อมูลตัวอาคาร 4 หลังดังกล่าวแล้วนำข้อมูลที่ได้ทั้งหมด มาประมวลหาทางเลือกและนำเสนอแนวทางต่าง ๆ ที่เป็นไปได้ในเบื้องต้นสำหรับการคืนสภาพ จากการศึกษาพบว่ามีการเสื่อมสภาพที่สำคัญคือ การพังทลายของโครงสร้างหลังคา การทรุดตัวที่ไม่เท่ากันของฐานราก การเสื่อมสภาพจากความชื้นในผนัง และ การดัดแปลงรูปแบบอาคาร ซึ่งแนวทางการคืนสภาพได้มีการนำเสนอ รูปแบบสันนิษฐานของอาคารแต่ละหลังรวมทั้งทางเลือกต่าง ๆ ในการซ่อมแซมความเสียหาย เช่น ความเสียหายส่วนหน้าบัน รอยแตกร้าว หรือการสร้างชั้นตัดความชื้นในผนังด้วย โดยมีเกณฑ์ในการตัดสินใจในการคืนสภาพคือ การให้ความสำคัญกับความดั้งเดิมของรูปแบบทางสถาปัตยกรรมและรายละเอียดวิธีการก่อสร้างเป็นอันดับแรก ยกเว้นในกรณีที่ความเสียหายมีความเสี่ยงต่อความมั่นคงต่ออาคารอย่างรุนแรง ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ใช้ หรือ ไม่สามารถหาวิธีการอื่นที่เหมาะสมได้ จึงจะทำการเปลี่ยนแปลงโดยเลือกใช้วิธีการที่รับรู้จากภายนอกได้น้อยที่สุด | - |
dc.description.abstractalternative | The objective of this thesis is to propose an initial report and guidelines for the restoration of King Narai Period buildings in WatTongpuLopburi Province. Hereby, the typology, structure, and physical condition of the buildings as follow have been studied and analyzed : the Consecration Hall,the Dark Monastery, the Western Monastery, and theSubsidiary Chapel. In the methodology of research, general features and distinctive characteristics of selected buildings from the same period were recorded and studied, also measurement work of the stated buildings in WatTongpu had been taken in order to acquire information for data synthesis and determine proper alternatives as primary guidelines of the restoration. The study highlights important building deterioration as, the collapse of roof structure, uneven foundation settlement, rising damp and modification of building elements. Therefore, a proposal for each building’s configuration as at it’s original state and alternatives for repair in various parts of building such as damaged pediment and cracks, also the establishment of damp courses in the walls were introduced. However, the suggestion has been made that the restoration should be carried out only as high concerns the originality of architectural configuration and construction details, except for damage causing severe impact on the building stability, life safety or if no other solutions are considered appropriate, the least perceptible alteration would be allowed. | - |
dc.format.extent | 6236774 bytes | - |
dc.format.extent | 3626161 bytes | - |
dc.format.extent | 34362503 bytes | - |
dc.format.extent | 42764655 bytes | - |
dc.format.extent | 13335733 bytes | - |
dc.format.extent | 1451904 bytes | - |
dc.format.extent | 1410399 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2002.309 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | อาคาร -- การอนุรักษ์และการบำรุงรักษา | - |
dc.subject | โบราณสถาน -- การอนุรักษ์และการบำรุงรักษา | - |
dc.title | การศึกษาเพื่อการคืนสภาพอาคารสมัยสมเด็จพระนารายณ์ฯ : วัดตองปุ อ. เมืองลพบุรี | en |
dc.title.alternative | A study for restoration of King Narai-Period building : Wat Tongpu, Lopburi | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | สถาปัตยกรรม | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2002.309 | - |
Appears in Collections: | Arch - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Rathaphol_si_front.pdf | 6.09 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rathaphol_si_ch1.pdf | 3.54 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rathaphol_si_ch2.pdf | 33.56 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rathaphol_si_ch3.pdf | 41.76 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rathaphol_si_ch4.pdf | 13.02 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rathaphol_si_ch5.pdf | 1.42 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rathaphol_si_back.pdf | 1.38 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.