Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66188
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนงลักษณ์ วิรัชชัย-
dc.contributor.advisorเลขา ปิยะอัจฉริยะ-
dc.contributor.authorสุชาติ การสมบัติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-06-05T02:21:25Z-
dc.date.available2020-06-05T02:21:25Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9741703635-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66188-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพี่อศึกษาเปรียบเทียบผลการดำเนินงานกระบวนการปฏิรูปโรงเรียนโดยใช้การบริหารฐานโรงเรียนของโรงเรียนในโครงการโรงเรียนปฏิรูปการเรียนรู้ ระหว่างโรงเรียนพี่มีบริบทต่างกัน และระหว่างผลการวัดก่อนและหลังการปฏิรูป และเพี่อศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างองค์ประกอบ 7 องค์ประกอบ ในโมเดลกระบวนการปฏิรูปโรงเรียนโดยใช้การบริหารฐานโรงเรียนกับคุณภาพของโรงเรียน โดยใช้กรอบแนวคิดของ Robertson และ Briggs ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้รวบรวมจากรายงานแผนและผลการดำเนินงานอย่างละ 2 ฉบับ จากโรงเรียนในโครงการโรงเรียนปฏิรูปการเรียนรู้เพี่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ จำนวน 243 โรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่แบบบันทึกข้อมูลและคู่มือลงรหัสตัวแปร ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยตัวแปรแฝง 7 ตัวคือ บริบทของโรงเรียน โครงสร้างการบริหารโรงเรียนกระบวนการตัดสินใจ กลยุทธ์และการดำเนินการเปลี่ยนแปลง วัฒนธรรมโรงเรียน พฤติกรรมของครูในโรงเรียน และคุณภาพของโรงเรียน และตัวแปรสังเกตได้ 42 ตัวแปร การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์ค่าสถิติเบื้องต้น การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวการวิเคราะห์ t-test และการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างด้วยโปรแกรมสิสเรล ผลการวิจัยที่สำคัญสรุปได้ดังนี้ 1. ค่าเฉลี่ยผลการด่าเนินงานกระบวนการปฏิรูปโรงเรียนโดยใช้การบริหารฐานโรงเรียนในกลุ่มโรงเรียนปฏิรูปการเรียนรู้ก่อนและหลังการดำเนินงาน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ในด้านคุณภาพของโรงเรียน 2. บริบทของโรงเรียนที่ทำให้ค่าเฉลี่ยของผลการดำเนินงานกระบวนการปฏิรูปโรงเรียนโดยใช้การบริหารฐานโรงเรียนในกลุ่มโรงเรียนปฏิรูปการเรียนรู้ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ คือ สังกัดของโรงเรียน ที่ตั้งของโรงเรียน จำนวนนักเรียนอัตราส่วนครูต่อนักเรียน และการมีครูต้นแบบ/ครูแห่งชาติ 3. โมเดลกระบวนการปฏิรูปโรงเรียนโดยใช้การบริหารฐานโรงเรียน มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ค่าไค-สแควร์ (Chi-square) มีค่าเท่ากับ 361.36 ; p = 0.21 ที่องศาอิสระเท่ากับ 341 และ ค่า GFI มีค่าเท่ากับ 0.91 ค่า AGFI เท่ากับ 0.89 และค่า RMR เท่ากับ 0.055 องค์ประกอบด้านพฤติกรรมของครูในโรงเรียนมือิทธิพลทางตรงอย่างมืนัยสำคัญ ต่อคุณภาพของโรงเรียน และองค์ประกอบด้านกระบวนการตัดสินใจ และกลยุทธ์การดำเนินการเปลี่ยนแปลงมีอิทธิพลทางอ้อมอย่างมีนัยสำคัญต่อคุณภาพของโรงเรียนโดยส่งผ่านองค์ประกอบด้านพฤติกรรมของครูในโรงเรียน-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to compare the performances of the school-based management reform process of the Learning Reform Schools among schools with different context, and between the performances before and after reform; and to study causal relationships among 7 factors in the school-based management reform process model based on Robertson and Briggs's conceptual framework. The data in this study were collected from 2 planning reports and 2 results .reports from 243 Learning School Reform under The Office of National Education Commission 's Project of Learning Reform for Developing the Quality of Learners. The research instruments were recoding forms and code-book. Variables in this study covered 7 latent variable: contexual factors, governance structure, decision making processes, strategic and operational changes, school culture, individual behavior and school quality which were measured from 42 observed variables Data were analyzed preliminary statistics, one-way anova, t-test and the analysis of structural equation model using LISREL Program. The mam findings were as follows: 1) There were significant difference the performances mean of school quality between of the SBM reform process in the Learning Reform Schools before and after the reform. 2) The context variables that made significant difference in the performances mean of the SBM reform process among the groups of Learning Reform Schools were school location, school jurisdiction, student enrollment, student-teacher ratio and the availability of the National teacher and spear-head. 3) The school-based management refer from model was fit to the impirical data with {u1D4B3} 2= 361.36 ; p = 0.21 , df = 341 , GFI = 0.91 , AGFI = 0.89 and RMR = 0.055 . The 3 factor had statistically significant direct effect and indirect effect via decision making processes, strategic and operational changes and individual behavior on the quality of the schools.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานen_US
dc.subjectการบริหารโรงเรียนen_US
dc.subjectโครงการโรงเรียนปฏิรูปการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนen_US
dc.subjectSchool management and organizationen_US
dc.subjectSchool-based management-
dc.titleการศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ระหว่างองค์ประกอบในโมเดลกระบวนการปฏิรูปโรงเรียน โดยใช้การบริหารฐานโรงเรียน : การวิเคราะห์และสังเคราะห์รายงานของโรงเรียน ในโครงการโรงเรียนปฏิรูปการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนen_US
dc.title.alternativeStudy of causal relationships among the factors in the model of school-based management reform process : an analysis and synthesis of school reports in the project of learning reform schools for developing quality of learnersen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสถิติการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorNonglak.W@chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suchart_ka_front_p.pdf863.42 kBAdobe PDFView/Open
Suchart_ka_ch1_p.pdf893.63 kBAdobe PDFView/Open
Suchart_ka_ch2_p.pdf1.99 MBAdobe PDFView/Open
Suchart_ka_ch3_p.pdf811.82 kBAdobe PDFView/Open
Suchart_ka_ch4_p.pdf2.68 MBAdobe PDFView/Open
Suchart_ka_ch5_p.pdf1.05 MBAdobe PDFView/Open
Suchart_ka_back_p.pdf2.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.