Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67517
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กาญจนา แก้วเทพ | - |
dc.contributor.author | ก่อเกียรติ ดวงมณี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2020-08-17T03:26:15Z | - |
dc.date.available | 2020-08-17T03:26:15Z | - |
dc.date.issued | 2542 | - |
dc.identifier.isbn | 9743327932 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67517 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ วีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการสร้างความรู้เรื่องสิ่งแวดล้อมขององค์กรธุรกิจที่จัดขึ้นให้แก่สื่อมวลชน ด้วยการศึกษาองค์กรธุรกิจที่เคยจัดการฝึกอบรมเรื่องสิ่งแวดล้อมให้แก่สื่อมวลชน 8 องค์กร และนักสื่อสารมวลชน ที่เคยเข้าร่วมกิจกรรมสิ่งแวดล้อมที่จัดขึ้น โดยองค์กรธุรกิจจำนวน 21 คน โดยอาศัยแนวคิดเกี่ยวกับการอนุรักษณ์ทรัพยากรธรรมชาติ แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้เรื่องสิ่งแวดล้อมของสื่อมวลชน และแนวคิดเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมขององค์กรธุรกิจ เป็นกรอบในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า กิจกรรมสร้างความรู้เรื่องสิ่งแวดล้อมที่องค์กรุรกิจจัดขึ้นให้แก่สื่อมวลชนมีหลากหลาย โดยมีจำนวนถึง 9 กิจกรรม จากจำนวนกิจกรรมสิ่งแวดล้อมสึกษาที่ใช้โดยทั่วไปจำนวน 12 กิจกรรม กิจกรรมที่ใช้มากที่สุดคือ ทัศนศึกษา น้อยที่สุดคือ สถานการณ์จำลอง สำหรับปัจจัยที่องค์กรธุรกิจใช้ในการเลือกสรรกิจกรรมสร้างความรู้อันดับแรก ได้แก่ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับวิธีการการให้สื่อมวลชนได้รับความรู้ คือ เป็นกิจกรรมที่สามารถให้ความรู้ได้รวดเร็ว เหมาะกับหัวข้อในการให้ความรู้ และเป็นกิจกรรมที่พิสูจน์แล้วว่าให้ความรู้ได้ดี ส่วนปัจจัยเกี่ยวกับความถนัดของผู้ให้ความรู้ ความถนัดของผู้รับสาร เวลา และค่าใช้จ่าย เป็นปัจจัยที่ให้ความสำคัยในการเลือกรองลงมา สำหรับการประเมินผลกระบวนการสร้างความรู้ องค์ธุรกิจค่อนข้างพอใจในประสิทธิผลจากการจัดกิจกรรม ในขณะที่สื่อมวลชนประเมินว่าการจัดกิจกรรมขององค์กรไม่ประสบความสำเร็จ เนื่องมาจากองค์กรให้ความสำคัญกับตัวแปร “กิจกรรม” เป็นหลัก ขณะที่สื่อมวลชยนเห็นว่าตัวแปรสำคัญที่จะทำให้สื่อมวลชนได้รับความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรมคือ “หัวข้อ” ของการฝึกอบรมมากกว่า | - |
dc.description.abstractalternative | This research was aimed at the study of environment education process of business organization for mass media. By studying 8 business organizations which have ever held the course-training for mass media and 21 journalists who have ever participated in the environmental. course held by buniness organization. The frameworks of data’ analysis are the concept of the resource conservation, the learning of environmental issues for mass media workers the activity of business organization. The outcome reveals that there are nine types of training activity held by business organization in which enrich environmental knowledge tomass media. The most popular aotivity used for the training is the study tour and the least one is the simulation game The training activity sclcotion by the business organization is based on various factors. The business organization in the first seleoting activity. The first and foremost factor involve to mass media is activity that can oreate the understanding of that topic quite and suitable for it Also that activity choose be proved to give knowledge. The other minor factors connect with expertise of instructor, skill of the audience, time and cost. Regarding to the evaluation, on the other hand, the business organizations are quite satisfied with the effectiveness of the training activity mass media evaluate that such activities were not successful because the organization give the emphasis on the “ type” of variable of activity the mass media agree that the selection oriteria should base on “topic” of the course-training. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject | สื่อมวลชนกับสิ่งแวดล้อม | - |
dc.subject | การตลาดเพื่อสังคม | - |
dc.subject | การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ | - |
dc.title | กระบวนการสร้างความรู้เรื่องสิ่งแวดล้อมขององค์กรธุรกิจให้แก่สื่อมวลชน | - |
dc.title.alternative | Environmental education process of business organization for mass media | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | การสื่อสารมวลชน | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Korkiat_du_front_p.pdf | หน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ | 926.05 kB | Adobe PDF | View/Open |
Korkiat_du_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 1.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
Korkiat_du_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1.98 MB | Adobe PDF | View/Open |
Korkiat_du_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 928.85 kB | Adobe PDF | View/Open |
Korkiat_du_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 4.32 MB | Adobe PDF | View/Open |
Korkiat_du_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 1.15 MB | Adobe PDF | View/Open |
Korkiat_du_ch6_p.pdf | บทที่ 6 | 1.01 MB | Adobe PDF | View/Open |
Korkiat_du_back_p.pdf | บรรณานุกรมและภาคผนวก | 1.42 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.