Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67628
Title: การบริหารโครงการเพื่อการวางแผนขยายการผลิตในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์
Other Titles: Project management for planning the production expansion in an electronic parts manufacturing plant
Authors: จิริวรรณ โคสกานัน
Advisors: วันชัย ริจิรวนิช
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Subjects: การบริหารโครงการ
กำลังการผลิต
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ -- กำลังการผลิต
Issue Date: 2542
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาปัญหาและเสนอแนวทางของการขยายกำลังการผลิตของโรงงานตัวอย่างเนื่องจากสถานที่ผลิตโรงงานตัวอย่างเป็นอาคาร 6 ชั้น สถานที่การผลิตไม่เป็นพื้นราบเดียวกันทำให้มีปัญหาในการจัดวางเครื่องจักร ขณะเดียวกันโรงงานตัวอย่างขาดกระบวนการวางแผนในการขยายที่ดี มีผลทำให้สูญเสียโอกาสทางการผลิต ดังนั้นผู้ศึกษาจึงใช้การขยายกำลังการผลิต auto led เป็นกรณีศึกษา โดยลูกค้ามีความต้องการขยายกำลังการผลิตโดยแบ่งเป็น 4 ช่วง คือโมดูลที่ 1-4 กำลังการผลิตที่ 60,000 ตัว/วัน 250,000 ตัว/วัน 500,000 ตัว/วัน และ 700,000 ตัว/วันตามลำดับ โครงการจะสำเร็จได้ต้องอาศัยการศึกษากระบวนการผลิต การกำหนดเครื่องจักรอุปกรณ์ที่ต้องการใช้การวางผังโรงงานโดยจัดผังโรงงานแบบผสมผสานของระบบการผลิตเดิมและส่วนของเครื่องจักรที่จะย้ายเข้ามา แผนการดำเนินงานขยายกำลังการผลิตด้วยเทคนิคการบริหารโครงการ ผลการวิจัยพบว่า การควบคุมโมดูลที่ 1 เป็นไปตามแผนที่วางไว้ การควบคุมโมดูลที่ 2 เกิดความล่าช้ากว่าแผน 17 วัน ดังนั้นจึงเสนอให้เร่งโครงการในช่วงโมดูลที่ 3 ซึ่งสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายได้ 1,619,429 บาท
Other Abstract: This research has the objective to study and set up the production expansion plan for sample plant. Due to the fact that the factory building has 6 floors and the available space on each floor is not the same, it is rather difficult to arrange the machine layout. At the same if the plant lacks a good planning for production expansion, there will be production opportunity loss in the future. Auto led production capacity of sample plant is used for case study. Customer requirement is to expand the production capacity into 4 modules as 60,000 units/day, 250,000units/day, 500,000 units/day and up to 700,000 units/day. The studies include analysing the production processes, machine requirements, available space for an appropriate layout, a project plan for plant expansion . From the study module 1, time can be controlled by using critical path method(CPM). After completing module 2 , the scheduling delayed 17 days. The project speedup of module 3 can save up to 1,619,429 baht.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมอุตสาหการ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67628
ISBN: 9743337113
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chiriwan_ko_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ1.05 MBAdobe PDFView/Open
Chiriwan_ko_ch1_p.pdfบทที่ 1984.87 kBAdobe PDFView/Open
Chiriwan_ko_ch2_p.pdfบทที่ 21.22 MBAdobe PDFView/Open
Chiriwan_ko_ch3_p.pdfบทที่ 31.24 MBAdobe PDFView/Open
Chiriwan_ko_ch4_p.pdfบทที่ 42.65 MBAdobe PDFView/Open
Chiriwan_ko_ch5_p.pdfบทที่ 53.4 MBAdobe PDFView/Open
Chiriwan_ko_ch6_p.pdfบทที่ 61.44 MBAdobe PDFView/Open
Chiriwan_ko_ch7_p.pdfบทที่ 71.6 MBAdobe PDFView/Open
Chiriwan_ko_ch8_p.pdfบทที่ 8748.24 kBAdobe PDFView/Open
Chiriwan_ko_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก2.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.