Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67742
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปารเมศ ชุติมา | - |
dc.contributor.author | ประภาศรี สวัสดิ์อำไพรักษ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2020-08-27T07:37:54Z | - |
dc.date.available | 2020-08-27T07:37:54Z | - |
dc.date.issued | 2542 | - |
dc.identifier.isbn | 9743327088 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67742 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้เป็นการนำเอาวิธีการของกระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ (Analytical Hierarchy Process: AHP) มาประยุกต์ใช้ในการเลือกทำเลที่ตั้งโรงงานที่เหมาะสมสำหรับบริษัทผลิตบรรจุภัณฑ์ โดยมีกรณีศึกษาเป็นบริษัทผลิตบรรจุภัณฑ์ กระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ถูกใช้เป็นเครื่องมือเพื่อช่วยวิเคราะห์การตัดสินใจ แบบพหุเกณฑ์ (Multi-Criteria Decision-Making) ที่สามารถใช้ในการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์การตัดสิน ใจทั้งแบบตีค่าเป็นเงินได้ และตีค่าเป็นเงินไม่ได้ นอกจากนั้น AHP ยังเป็นกระบวนการที่ไม่สลับซับซ้อน สามารถแสดงถึงลำดับความสำคัญของเกณฑ์และทางเลือกซึ่งได้มาจากการเปรียบเทียบเป็นคู่ๆ และยังสามารถวัดความสอดคล้องของการตัดสินใจได้ด้วย งานวิจัยนี้ประกอบด้วยการศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเลือกทำเลที่ตั้งโรงงาน โดยในการกำหนดเกณฑ์การตัดสินใจนั้นจะพิจารณาถึงความครบถ้วน การใช้งานได้ การแยกย่อยได้ ความไม่ซ้ำซ้อน และจำนวนของเกณฑ์ที่เหมาะสม พบว่าเกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินใจประกอบด้วย คาราที่ดิน ค่าขนส่ง ต้นทุนการผลิต ตลาด ความพร้อมของระบบสาธารณูปโภค สภาพแวดล้อมในการทำงาน สังคมและชุมชน และการส่งเสริมและสนับสนุนจากทางราชการ สำหรับทางเลือกที่จะผ่านการกลั่นกรองเบื้อนต้นถึงความเหมาะสมที่จะใช้เป็นทางเลือกประกอบด้วย นิคมอุตสาหกรรมบางปู นิคมอุตสาหกรรมนวนคร นิ คมอุตสาหกรรมบางปะอิน และนิคมอุตสาหกรรมไฮเทค ในการวิจัยจะนำปัจจัยและทางเลือกมาพัฒนาเป็นรูปแบบโครงสร้างลำดับชั้นเพื่อใช้เลือกทำเลที่ตั้งโรงงานผลิตบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสม แล้วทำการรวลรวมข้อมูลการตัดสินใจของผู้ตัดสินใจที่เกี่ยวข้อง พบว่า ผู้ตัดสินใจให้ความสำคัญกับปัจจัยค่าขนส่งเป็นอันดับแรก ปัจจัยตลาดเป็นอันดับสอง และปัจจัยต้นทุนการ ผลิตเป็นอันดับสาม ปัจจัยราคาที่ดินเป็นอันดับที่สี่ ปัจจัยความพร้อมของระบบสาธารณูปโภคเป็นอันดับที่ห้า ปัจจัยการส่งเสริมและสนับสนุนจากทางราชการเป็นอันดับที่หก ปัจจัยสภาพแวดล้อมในการทำงานเป็นอันดับที่เจ็ด และปัจจัยสังคมและชุมชนเป็นอันดับสุดท้าย เมื่อพิจารณาน้ำหนักความสำคัญที่ผู้ตัดสินใจให้แก่ทาง เลือกแล้ว พบว่า นิคมอุตสาหกรรมนวนครเป็นทำเลที่ตั้งโรงงานที่เหมาะสมที่สุด นิคมอุตสาหกรรมไฮเทคเป็นอันดับที่สอง นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน้ป็นอันดับที่สาม และนิคมอุตสาหกรรมบางปูมีความเหมาะสม น้อยที่สุด | - |
dc.description.abstractalternative | In this study , Analytical Hierarchy Process (AHP) is employed to select an appropriate. site tor a packaging company, In this case study, Analytical Hierarchy process (AHP) is being employed, as a tool to arrive at a Multi-Criteria Decision-Making which will include both monetary and non-monetary related factors AHP is a non-complicated process, being able to show levels of importance of criteria This study is comprised of factors affecting the site selection and the decision criteria being employed would touch on the overall that the main factors are land cost, transportation cost, manufacturing cost, market, infrastructure. working environment, community/society, and state Navanakorn Industrial Estate, Bang pa-in Industrial Estate and Hi-Tech Industrial Estate. In this research study, factors and selection choices are being employed to create a multi-level structure selection process so as to select an appropriate site for a packaging company and for the compilation of decisions from people concerned. It is found that the decision maker give the weight on transportation cost as the first. market as the second. manufacturing cost as the third, land cost as the forth, infrastructure as the fifth, state support as the sixth, working environment as the seventh, and community/society as the last. From the choices cited, it can be concluded that the most suitable site is Navanakorn; followed by Hi-Tech, Bang pa-in, and Bangpoo. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject | โรงงาน -- สถานที่ตั้ง | - |
dc.subject | การตัดสินใจแบบพหุเกณฑ์ | - |
dc.subject | กระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ | - |
dc.title | การเลือกตำแหน่งของโรงงานโดยใช้การตัดสินใจหลายเกณฑ์ : กรณีศึกษาบริษัทบรรจุผลิตภัณฑ์ | - |
dc.title.alternative | Selection of factory location using multi-criteria decision-making : a case study of a packaging firm | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมอุตสาหการ | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Prapasri_sw_front_p.pdf | หน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ | 893.67 kB | Adobe PDF | View/Open |
Prapasri_sw_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 788.51 kB | Adobe PDF | View/Open |
Prapasri_sw_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
Prapasri_sw_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 1.15 MB | Adobe PDF | View/Open |
Prapasri_sw_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 1.01 MB | Adobe PDF | View/Open |
Prapasri_sw_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 1.03 MB | Adobe PDF | View/Open |
Prapasri_sw_ch6_p.pdf | บทที่ 6 | 1.71 MB | Adobe PDF | View/Open |
Prapasri_sw_ch7_p.pdf | บทที่ 7 | 961.49 kB | Adobe PDF | View/Open |
Prapasri_sw_back_p.pdf | บรรณานุกรมและภาคผนวก | 2.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.