Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68355
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรชุลี อาชวอำรุง-
dc.contributor.authorสุเมธ แสงนาทร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-10-06T08:24:34Z-
dc.date.available2020-10-06T08:24:34Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68355-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542-
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในการบริหารจัดการบัณฑิตวิทยาลัยของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย เพื่อเสนอกลยุทธ์และจัดทำแผนปฏิบัติการการบริหารจัดการบัณฑิตวิทยาลัยตามแนวภารกิจอุดมศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลศึกษาวิเคราะห์คือกลุ่มผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยของรัฐ และมหาวิทยาลัยราชภัฏ ประกอบด้วยอธิการบดี รองอธิการบดี ฝ่ายวิชาการ และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย การศึกษาวิเคราะห์ได้ศึกษาจากเอกสารสภาพการบริหารจัดการบัณฑิตวิทยาลัยสถาบันอุดมศึกษา และศึกษาวิเคราะห์ความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารจัดการบัณฑิตวิทยาลัยจากผู้บริหารกลุ่มมหาวิทยาลัยของรัฐและกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏใน 10 ด้าน คือ ทิศทางของบัณฑิตวิทยาลัย การบริหารจัดการ หลักสูตร การพัฒนาบุคลากร การวิจัยของบัณฑิตศึกษา การบริการทางวิชาการ หลักสูตรนานาชาติ งานศิลปวัฒนธรรม การประกันคุณภาพ ความเป็นเลิศทางวิชาการ แล้วนำข้อมูลเหล่านี้มากำหนดกลยุทธ์และ แผนปฏิบัติการแบบจำลอง จากนั้นมีการตรวจสอบโดยผู้เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการโดยตรงในกลุ่มมหาวิทยาลัย ราชภัฏภาคเหนือตอนล่างและมีการประเมิน โดยอิงผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อปรับปรุงให้เป็นฉบับสมบูรณ์ก่อนนำไปใช้ ผลการวิจัยพบว่ากลยุทธ์แต่ละด้านมีกลวิธีดังต่อไปนี้ 1) ด้านนโยบายบัณฑิตวิทยาลัยต้องร่วมมือกันเพื่อความแข็งแกร่งทางวิชาการของ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือตอนล่าง 2) ด้านบริหารจัดการต้องใช้ทรัพยากรร่วมกันทั้งบุคลากร แหล่งข้อมูลทางวิชาการ และแหล่งฝึกประสบการณ์ 3) ด้านหลักสูตรต้องพัฒนาหลักสูตรสหสาขาวิชาร่วมกัน 4) ด้านพัฒนาบุคลากรต้องสนับสนุนให้อาจารย์ศึกษาปริญญาเอกเพื่อเพิ่มศักยภาพคณาจารย์ในกลุ่มร่วมกัน 5) ด้านการวิจัยของบัณฑิตศึกษาให้นักศึกษาทุกสาขาวิชาทำวิทยานิพนธ์เพื่อสร้างนักวิชาการให้ ห้องถิ่น 6) ด้านบริการทางวิช าการให้การฝึกอบรมหลักสูตรระยะสั้นและบริการงานวิจัย 7) ด้านหลักสูตรนานาชาติร่วมกันเปิดสอนหลักสูตรสังคมศาสตร์ภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เน้นกลุ่มประเทศสี่แยกอินโดจีน 8) ด้านงานศิลปวัฒนธรรม เน้นการส่งเสริมทุนวิจัยเพื่ออนุรักษ์งานศิลปวัฒนธรรมในภาคเหนือตอนล่าง 9) ด้านการประกันคุณภาพ เน้นเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรอาจารย์และการประเมินผลอย่างจริงจัง 10) ด้านความเป็นเลิศทางวิชาการ เน้นการสร้างผลงานวิจัยของนิสิตปัจจุบันและสำเร็จไปแล้วให้เกิดผลนำไปสู่การพัฒนาสังคมได้ อย่างแท้จริง-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were as follows : 1) to study and analyze graduate school administrational conditions of the universities in Thailand, 2) to develop strategies and 3) to develop action plans under graduate school missions for Rajabhat Universities in the lower northern region. The sampling groups for answering questionnaires about graduate school administration were the administrators from state universities and Rajabhat Universities. They were the presidents, the academic vice-presidents and the deans of graduate schools. The studies were general administration condition analyzing from graduate school annual reports of the universities in Thailand and questionnaire analyzing from the administrators. The studies were about 10 administrational factors : graduate schools’ directions, management, curriculum, personnel re-enforcement, graduate research, academic services, foreign programmes, art and cultural affairs, quality assurance and academic excellence. Then these factors were used to develop as a primary strategic and action plans. The primary strategies and action plans were examined and improved in the seminar by stake-holders from Rajabhat Universities in the lower northern region. Then they were assessed and commented by the experienced administrators for improving to be complete strategic plans. The study found that 10 strategies should be as follows :1) administration policy should be co-operative, 2) management should be co-use of personnals, training sources and IT datas, 3) curriculum should be co-operative, 4) personnels should be upgraded to doctor degree, 5) research work should be compulsory for all graduate students, 6) academic service should provide short courses for public, 7) foreign programmes should open Asian Studies, 8) art and culture should provide scholarships for cultural conservation, 9) quality assurance should follow auditors’ advices strictly, and 10) academic excellence should support students produce research works for solving social problems.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectสถาบันราชภัฏพิบูลสงคราม-
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอน (อุดมศึกษา)-
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- การอ่าน-
dc.titleรูปแบบการสอนภาษาอังกฤษในระดับปริญญาตรีในสถาบันราชภัฏ : กรณีศึกษาในสถาบันราชภัฏพิบูลสงคราม-
dc.title.alternativeModel of teaching English reading at undergraduate level in Rajabhat Institutes : a case study of Rajabhat Institute Pibulsongkram-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineอุดมศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sumeth_sa_front_p.pdf979.34 kBAdobe PDFView/Open
Sumeth_sa_ch1_p.pdf2.31 MBAdobe PDFView/Open
Sumeth_sa_ch2_p.pdf2.68 MBAdobe PDFView/Open
Sumeth_sa_ch3_p.pdf1.48 MBAdobe PDFView/Open
Sumeth_sa_ch4_p.pdf859.72 kBAdobe PDFView/Open
Sumeth_sa_ch5_p.pdf1.15 MBAdobe PDFView/Open
Sumeth_sa_back_p.pdf4.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.