Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68497
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุผานิต เกิดสมเกียรติ-
dc.contributor.authorจีระพรรณ ผ่องชมภู-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-10-09T08:19:17Z-
dc.date.available2020-10-09T08:19:17Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743324798-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68497-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้มุ่งศึกษากรณีความรับผิดชอบของรัฐที่ให้การสนับสนุนการก่อการร้ายตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศ โดยเป็นการวิเคราะห์ประเด็นปัญหาความไม่ชัดเจนของกฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับกรณีดังกล่าว อันส่งผลให้ผู้เสียหายและประชาคมโลกไม่ได้รับการเยียวยาความเสียหายอย่างเต็มที่และมีประสิทธิภาพ การศึกษาประเด็นปัญหาทางกฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับรัฐที่ให้การสนับสนุนการก่อการร้ายพบว่า หลักกฎหมายระหว่างประเทศที่นำมาใช้เพื่อพิจารณาความรับผิดชอบของรัฐที่กระทำการดังกล่าว โดยเฉพาะเจาะจงไม่มีปรากฏ คงมีแต่เพียงหลักพื้นฐานทางกฎหมายเช่นหลักการคุ้มกันของรัฐ ซึ่งถือกำเนิดจากหลักอำนาจอธิปไตยที่เท่าเทียมกันของรัฐและหลักการห้ามแทรกแซงกิจการภายในของรัฐอื่น ทั้งนี้โดยพิจารณาประกอบการตีความให้ครอบคลุมถึงความผิดเช่นว่านั้น ในขณะที่ข้อมติสมัชชาใหญ่สหประชาชาติสามารถทำได้เพียงการวางกรอบให้รัฐต่าง ๆ ปฏิบัติตาม อันเป็นการสะท้อนให้เห็นเจตนารมณ์ของประชาคมโลกและหลักกฎหมายตามกฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศไม่มีความชัดเจนในเรื่ององค์ประกอบของความผิดฐานก่อการร้าย รวมถึงเกณฑ์การเยียวยาความเสียหาย ยิ่งไปกว่านั้นยังจำกัดอยู่เพียงแต่การกระทำละเมิดดังกล่าวเป็นความรับผิดทางแพ่ง แต่ต่อมามีแนวโน้มที่จะทำให้การกระทำดังกล่าวขยายเป็นความรับผิดทางอาญาระหว่างประเทศ รวมทั้งมิได้จำกัดว่าเป็นความรับผิดของรัฐเท่านั้น แต่เป็นความผิดที่ลงโทษต่อปัจเจกชนด้วย ปัญหาต่อไปคือ ความผิดฐานก่อการร้ายระหว่างประเทศมีลักษณะเป็นการเมืองระหว่างประเทศอยู่เสมอ ทำให้คณะมนตรีความมั่นคงเข้ามามีบทบาทและในหลายกรณีมีการใช้สิทธิยับยั้ง อันทำให้องค์ประกอบทางด้านกฎหมายของความรับผิดดังกล่าวไม่อาจหาข้อยุติได้ แต่กลับเกี่ยวพันในเรื่องการปลดเอกชาติไม่มากก็น้อย และแม้ว่ารัฐต่าง ๆ จะรังเกียจการสนับสนุนการก่อการร้าย แต่ในทางปฏิบัติไม่สามารถสร้างแรงกดดันมากพอให้รัฐยุติการกระทำดังกล่าวได้ และนำไปสู่การใช้กลไกต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นในระดับสากล ภูมิภาค หรือระดับประเทศเพื่อตอบโต้และลงโทษรัฐนั้น-
dc.description.abstractalternativeThis thesis aimed to study state responsibility for state sponsored Terrorism in International Law. Analysis will be given on the vagueness of international law in this matter, which results in the violations and the international community being insufficiently and ineffectively remedied therefor. It appears that these are no specific rules or principles dealing with this issue. Resort has to be made to the basic principles existing under International Law e.g. state immunity which is based on sovereign equality, and non-intervention. Interpretation on the said principles to the wides extent, latosensu, is warranted to cover such violation of international law. Resolutions adopted at the United National General Assembly can heop lay down the framework for states to follow. However, some legal elements are contained therein which reflect the political will of the international community in this respect. And it is important to note that the consistent elements of such violation are not clearly defined under customary International Law. Nor is it clear about remedies to the victims. Moreover, such remedies are limited to be claimed for civil liabilities. However, it is inclined to consider that such violation be remedies for criminal liabilities’ and individual responsibilities. An issue is raised that international terrorism involves international politics. Thus, the Security Council has a role to play. Unfortunately, in many cases the veto right has been exercised. That being so the constituent elements are open-ended and intertwined with national Liberation movements. Although these violations or crimes are considered heinous by the international community, these is no sufficient pressure to suppress the states sponsoring international terrorism, thereby the mechanisms existing at the international law, regional or domestic levels to country and punish such crimes are not properly utilized.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectกฎหมายระหว่างประเทศen_US
dc.subjectความผิดทางการเมืองen_US
dc.subjectกฎหมายอาญาen_US
dc.subjectการก่อการร้ายen_US
dc.subjectInternational lawen_US
dc.subjectPolitical crimes and offensesen_US
dc.subjectCriminal lawen_US
dc.subjectTerrorismen_US
dc.titleความรับผิดชอบของรัฐที่ให้การสนับสนุนการก่อการร้ายตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศen_US
dc.title.alternativeState responsibility for state sponsored terrorism in international lawen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorsuphanit.k@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jerapan_po_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ933.56 kBAdobe PDFView/Open
Jerapan_po_ch1_p.pdfบทที่ 1740.48 kBAdobe PDFView/Open
Jerapan_po_ch2_p.pdfบทที่ 21.34 MBAdobe PDFView/Open
Jerapan_po_ch3_p.pdfบทที่ 32.08 MBAdobe PDFView/Open
Jerapan_po_ch4_p.pdfบทที่ 43.74 MBAdobe PDFView/Open
Jerapan_po_ch5_p.pdfบทที่ 5957.33 kBAdobe PDFView/Open
Jerapan_po_ch6_p.pdfบทที่ 6855.1 kBAdobe PDFView/Open
Jerapan_po_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก2.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.