Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68546
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชุมพร ปัจจุสานนท์-
dc.contributor.authorอุบลรัตน์ สู่สุข-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-10-12T07:54:45Z-
dc.date.available2020-10-12T07:54:45Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743349928-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68546-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542-
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษา การเข้าเป็นภาคีต่อความตกลงเพื่อส่งเสริมให้เรือประมงปฏิบัติตามมาตรการอนุรักษ์และจัดการทรัพยากรในทะเลหลวงของประเทศไทยว่าหากประเทศไทยเข้าเป็นภาคีความตกลงเพื่อส่งเสริมให้เรือประมงปฏิบัติตามมาตรการอนุรักษ์และจัดการทรัพยากรในทะเลหลวงจะ ก่อไห้เกิดผลดีหรือผลเสียต่อประเทศไทย จากการศึกษาพบว่า การเข้าเป็นภาคีต่อความตกลงเพื่อส่งเสริมให้ เรือประมงปฏิบัติตามมาตรการอนุรักษ์และจัดการทรัพยากรในทะเลหลวงของประเทศไทยจะก่อให้เกิดผลเสีย มากกว่าผลดี ผู้เขียนมีข้อเสนอแนะว่า ในปัจจุบันประเทศไทยยังไม่ควรเข้าเป็นภาคีความตกลงเพื่อส่งเสริมให้ เรือประมงปฏิบัติตามมาตรการอนุรักษ์และจัดการทรัพยากรในทะเลหลวงเพราะประเทศไทยยังไม่มีความจำเป็นในขณะนี้ที่จะเร่งรีบเข้าเป็นภาคีความตกลงเพื่อส่งเสริมให้เรือประมงปฏิบัติตามมาตรการอนุรักษ์และจัดการทรัพยากรในทะเลหลวง เพราะผลประโยชน์ของประเทศไทยในทะเลหลวงยังมีไม่มากนัก และศักยภาพของการพัฒนาเรือประมงไทยในทะเลหลวงยังขาดความชัดเจน การเข้าเป็นภาคีต่อความตกลงเพื่อส่งเสริมให้เรือประมงปฏิบัติตามมาตรการอนุรักษ์และจัดการทรพยากรในทะเลหลวงจะทำให้ประเทศไทยมีพันธกรณีที่จะต้องปฏิบัติตามหลักการที่ปรากฏอย่างเคร่งครัดและสร้างภาระหน้าที่ในการอนุวัติการความตกลงเพื่อส่งเสริมให้เรือประมงปฏิบัติตามมาตรการอนุรักษ์และจัดการทรัพยากรในทะเลหลวง แต่ประเทศไทยสามารถทำการหยิบและเลือกบทบัญญัติบางข้อจากความตกลงเพื่อส่งเสริมให้เรือประมงปฏิบัติตามมาตรการอนุรักษ์และจัดการทรัพยากรในทะเลหลวงมาบัญญัติเป็นกฎหมายภายในหากเห็นว่าเหมาะสมและเป็นประโยชน์ต่อประเทศไทยได้โดยไม่จำต้องเข้าเป็นภาคีความตกลงความตกลงเพื่อส่งเสริมให้เรือประมงปฏิบัติตามมาตรการอนุรักษ์และจัดการทรัพยากรในทะเลหลวง-
dc.description.abstractalternativeThis thesis is aimed at studying the entry to FAO's agreement to promote compliance with international conservation and management measures by fishing vessels on the high seas whether the Thailand 's potential membership will cause pros and cons. It is found that the entry to the FAO's agreement to promote compliance with international conservation and management measures by fishing vessels on the high seas will cause the cons. The writer suggests that from the time being Thailand should not enter FAO's agreement to promote compliance with international conservation and management measures by fishing vessels on the high seas according to Thailand 'ร national interest on the high seas is inaccurate, and the potential development of the Thai fishing fleet on the high seas is also unclear. The entry to FAO's agreement to promote compliance with international conservation and management measures by fishing vessels on the high seas establish the obligation to Thailand to perform in every binding article and Thailand is bound to implement the FAO's agreement to promote compliance with international conservation and management measures by fishing vessels on the high seas into national legislation. Thailand has to delay its entry to the Agreement, however, Thailand is capable to pick and choose particularly, the useful and appropriate provision of the Agreement to implement into national legislation.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectประมง-
dc.subjectเรือประมง-
dc.subjectการอนุรักษ์ประมง-
dc.subjectทะเลหลวง-
dc.subjectการอนุรักษ์ทรัพยากรทางน้ำ-
dc.subjectอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982-
dc.titleการเข้าเป็นภาคีความตกลง เพื่อส่งเสริมให้เรือประมงปฏิบัติตามมาตรการอนุรักษ์ และจัดการทรัพยากรในทะเลหลวง : ศึกษากรณีประเทศไทย-
dc.title.alternativeAccession to the FAO's agreement to promote compliance with international conservation and management measures by fishing vessels on the high seas : a case study of Thailand's potential membership-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ubonrat_su_front_p.pdf960.48 kBAdobe PDFView/Open
Ubonrat_su_ch1_p.pdf807.15 kBAdobe PDFView/Open
Ubonrat_su_ch2_p.pdf3.1 MBAdobe PDFView/Open
Ubonrat_su_ch3_p.pdf3.29 MBAdobe PDFView/Open
Ubonrat_su_ch4_p.pdf2.58 MBAdobe PDFView/Open
Ubonrat_su_ch5_p.pdf790.93 kBAdobe PDFView/Open
Ubonrat_su_back_p.pdf3.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.