Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68633
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมพงษ์ ชูมาก-
dc.contributor.authorวาริฉัตร ดวงจินดา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-10-20T03:54:25Z-
dc.date.available2020-10-20T03:54:25Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743344772-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68633-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาการให้เงินกู้ของกองทุนการเงินระหว่างประเทศโดยศึกษากรณี วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ปี ค.ศ. 1997 ว่าผลประโยชน์ของประเทศสมาชิกที่ทำหน้าที่ตัดสินใจภายในกองทุนการเงินระหว่างประเทศมีอิทธิพลต่อการให้เงินกู้กับประเทศไทยหรือไม่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลประโยชน์ของสหรัฐอเมริกาและประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกิจอื่น ๆ ในประเทศไทยและอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อการตัดสินใจให้เงินกู้ภายในกองทุนการเงิน ระหว่างประเทศ ทั้งนี้ได้นำกรอบความคิดเรื่องโครงสร้างนิยมมาเป็นกรอบในการศึกษาวิจัย จากการศึกษาพบว่า สหรัฐอเมริกามีอิทธิพลมากในการกำหนดเงื่อนไขของกองทุนการเงินระหว่างประเทศที่ให้เงินกู้แก่ประเทศไทยในช่วงวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ ปี ค.ศ. 1997 โดยพบว่า การแก้ไขปัญหาภายใต้หลักการความมีเสถียรภาพ การเปิดเสรี การผ่อนคลายกฎระเบียบ และ การแปรรูปรัฐวิสาหกิจของกองทุนการเงินระหว่างประเทศต่อประเทศไทยนั้นได้เอื้อประโยชน์ต่อ สหรัฐอเมริกาเป็นอันมาก-
dc.description.abstractalternativeThis thesis is aimed to study IMF loans by using the case of Thailand’s Economic Crisis in 1997 as a case study. The study is to reveal if the interest of decision - making member countries in IMF would have any influence on the loans for Thailand and to scrutinize the intel rests of the United States of America and those of other great powers in Thailand as well as the United States’ influence on IMF’s decisions to approve the loans. Structuralism is used as conceptual framework for this research. The study finally proves that the United States of America had very strong influence on IMF’s decisions to approve loans for Thailand during the economic crisis in 1997. It also proves that the reviving of economic crisis in Thailand under IMF’s principles of Stabilization, Liberalization, Deregulation and Privatization is greatly beneficial to the United States of America.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectกองทุนการเงินระหว่างประเทศen_US
dc.subjectวิกฤตการณ์การเงิน -- ไทยen_US
dc.subjectการกู้ยืมของรัฐบาลen_US
dc.subjectInternational Monetary Fund-
dc.subjectFinancial crises -- Thailand-
dc.subjectGovernment lending-
dc.titleการให้กู้เงินของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ : ศึกษากรณีวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ปี ค.ศ. 1997en_US
dc.title.alternativeIMF loans : a case study of Thailand's economic crisis in 1997en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineความสัมพันธ์ระหว่างประเทศen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Warichat_du_front_p.pdf983.45 kBหน้าปก และบทคัดย่อView/Open
Warichat_du_ch1_p.pdf1.15 MBบทที่ 1View/Open
Warichat_du_ch2_p.pdf2.79 MBบทที่ 2View/Open
Warichat_du_ch3_p.pdf3.06 MBบทที่ 3View/Open
Warichat_du_ch4_p.pdf2.6 MBบทที่ 4View/Open
Warichat_du_ch5_p.pdf933.59 kBบทที่ 5View/Open
Warichat_du_back_p.pdf1.8 MBบรรณานุกรม และภาคผนวกView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.