Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70730
Title: การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตธนบัตรไทย
Other Titles: Productivity improvement of Thai banknote printing
Authors: เฉลิมชัย ชื่นเจริญ
Advisors: ชอุ่ม มสิลา
บุญส่ง ใจสะอาด
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: Chaum.M@chula.ac.th
ไม่มีข้อมูล
Subjects: ธนบัตร -- ไทย
ผลิตภาพ
การควบคุมการผลิต
Bank notes -- Thailand
Productivity
Production control
Issue Date: 2540
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาการผลิตธนบัตรไทยและประยุกต์วิชาการด้านวิศวกรรม อุตสาหการเพื่อเพิ่มผลผลิตของธนบัตรชนิดราคา 100 บาท ตลอดจนใช้เป็นแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตธนบัตรชนิดราคาอื่น ๆ ต่อไป จากการศึกษาและวิเคราะห์พบว่าปัญหาที่ทำให้ประสิทธิภาพการผลิตธนบัตรต่ำได้แก่ปัญหา ความไม่สมดุลของความสามารถในการผลิตแต่ละขั้นตอนการผลิต ปัญหาด้านการจัดการ และ ข้อจำกัดของพื้นที่สำหรับผลิตธนบัตร การวิจัยครั้งนี้เน้นการแก้ปัญหาที่จุดคอคอด ( Bottle neck ) ของสายการผลิตคือ ขั้นตอนการตรวจสอบคุณภาพแผ่นพิมพ์ธนบัตรโดยใช้เทคนิคการศึกษาการทำงาน (Work - study) เพื่อจัดทำมาตรฐานการตรวจสอบคุณภาพแผ่นพิมพ์ธนบัตรขึ้นใหม่ ผลจากการผลิตธนบัตรชนิดราคา 100 บาทโดยใช้มาตราฐานการตรวจสอบคุณภาพแผ่นพิมพ์ที่จัด ทำขึ้นใหม่สามารถเพิ่มผลผลิตการตรวจสอบคุณภาพแผ่นพิมพ์ธนบัตรจากเฉลี่ย 3,250 แผ่นต่อคนต่อวันเป็น เฉลี่ย 4,250 แผ่นต่อคนต่อวัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 30.77 เทียบเท่าการตรวจสอบคุณภาพแผ่นพิมพ์ธนบัตร จำนวน 76,500 แผ่นต่อวัน แต่ด้วยข้อจำกัดของกำลังการผลิตในขั้นตอนการผลิตอื่น ๆ ที่สามารถเพิ่มการผลิต จาก 60,000 แผ่นต่อวันเป็น 70,000 แผ่นต่อวันเท่านั้น ส่งผลให้สามารถเพิ่มผลผลิตธนบัตรชนิดราคา 100 บาทได้ร้อยละ 16.67
Other Abstract: The purpose of this research was to study problems and apply the knowledge of industrial engineering for increase the productivity in 100 baht denomination so that it can be a guidance for productivity improvement in other denominations. The problems of low productivity are unbalancing of each process, management problem and area constraint problem. This research concentrated on bottle neck (sheet - examination process) then applied work study technique to set-up a new standard method. The results from the 100 baht-denomination line showed that using new standard method it could increase sheet-examination from average 3,250 sheet/man/day to 4,250 sheet/man/day or 30.77 %. equivalent to 76,500 sheet/day. With in other process capacity limitation, the production should be increased from 60,000 to 70,000 sheet/day leading to 16.67 % productivity improvement.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมอุตสาหการ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70730
ISSN: 9746378171
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chalermchai_ch_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ339.17 kBAdobe PDFView/Open
Chalermchai_ch_ch1.pdfบทที่ 1206.81 kBAdobe PDFView/Open
Chalermchai_ch_ch2.pdfบทที่ 2710.8 kBAdobe PDFView/Open
Chalermchai_ch_ch3.pdfบทที่ 3999.46 kBAdobe PDFView/Open
Chalermchai_ch_ch4.pdfบทที่ 4171.35 kBAdobe PDFView/Open
Chalermchai_ch_ch5.pdfบทที่ 51.78 MBAdobe PDFView/Open
Chalermchai_ch_ch6.pdfบทที่ 6151.69 kBAdobe PDFView/Open
Chalermchai_ch_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.