Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70996
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมชาย จิตะพันธ์กุล-
dc.contributor.authorวรพจน์ พัฒนวิจิตร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-25T05:07:32Z-
dc.date.available2020-11-25T05:07:32Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746362151-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70996-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อออกแบบและสร้างระบบประมวลผลสัญญาณเสียงพูดดิจิตอล โดยสามารถทำงานแบบเวลาจริงได้ โดยใช้ TMS320C25 โครงสร้างของระบบประกอบด้วยส่วนประมวลผล ส่วนหน่วย ความจำ 2 ส่วนโดยจะทำหน้าที่สลับกันในการรับส่งข้อมูลระหว่างตัวประมวลผลและเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ (PC) ซึ่ง ทำให้ระบบสามารถทำงานแบบเวลาจริงได้ ส่วนแปลงสัญญาณเสียงพูดแอนะลอกเป็นสัญญาณเสียงพูดดิจิตอลและส่วนเชื่อมต่อกับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์โดยผ่านทางบัสชนิด ISA รวมถึงการสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ที่จำเป็นในการพัฒนาระบบซึ่งต้องมีความยืดหยุ่นในการนำไปใช้กับอัลกอริทึมในการประมวลผลสัญญาณ เสียงพูด และสร้างซอฟต์แวร์ตัวอย่างที่สามารถทำงานตามวิธีการประมวลผลสัญญาณเสียงพูดที่พัฒนาขึ้นในห้อง ปฏิบัติการวิจัยกรรมวิธีประมวลผลสัญญาณดิจิตอล ฮาร์ดแวร์ของระบบประมวลผลสัญญาณเสียงพูดแบบเวลาจริง ใช้ ADC0804 ของบริษัท National ทำหน้าที่เชื่อมต่อระหว่างภาคอนาล็อกกับภาคดิจิตอลและใช้ TMS320C25 ของบริษัท Texas Instruments Incorporated (TI). เป็นตัวประมวลผล ซอฟต์แวร์ของระบบใช้ภาษาแอสเซมบลีสำหรับ TMS320C25 และภาษา C ของบริษัทไมโครซอฟต์เป็นภาษาใช้ในการพัฒนาโปรแกรมควบคุมการทำงานของระบบประมวลผล จากการทดสอบระบบประมวลผลสัญญาณเสียงพูดดิจิตอลแบบเวลาจริงที่ได้ออกแบบและสร้างขึ้นโดยใช้วิธีการรู้จำเสียงที่พัฒนาขึ้นใน ห้องปฏิบัติการวิจัยกรรมวิธีประมวลผลสัญญาณดิจิตอล [4], [5], [6] พบว่าสามารถทำงานแบบเวลาจริงได้ดี-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this thesis is to design and implement a digital speech processing system using TMS320C25. The system consists of a digital signal processor, two memory units for switching and transferring data between MPU and PC, an analog-to-digital converter, and an interface section. The infrastructure of hardware and software which are necessary for development of a through ISA bus including the better performance digital speech processing system, including a sample software which simulates! to the digital speech processing method developed at the Digital Signal processing Reserch Laboratory (DSPRL). The implemented hardware of Digital Speech Processing System utilizes DC0804 of National Semiconductor, for interfacing between analog path and digital path, and TMS320C25 of Texas Instrument Incorporated, for main processor. Assembly language is used for TMS320C25 and Microsoft Visual C++ (version 1.52) language is used for developing the operation control software. The developed system was tested with the algorithms of speech recognition, developed at the DSPRL the results show a good performance.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectระบบประมวลผลเสียงพูด-
dc.subjectการรู้จำเสียงพูดอัตโนมัติ-
dc.subjectSpeech processing systems-
dc.subjectAutomatic speech recognition-
dc.titleการออกแบบระบบประมวลผลสัญญาณเสียงพูดดิจิตอลแบบเวลาจริงใช้ชิป TMS320C25en_US
dc.title.alternativeDesign of a real time digital speech processing system using TMS320C25en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSomchai.J@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Vorapoj_pa_front_p.pdf892.51 kBAdobe PDFView/Open
Vorapoj_pa_ch1_p.pdf688.41 kBAdobe PDFView/Open
Vorapoj_pa_ch2_p.pdf1.18 MBAdobe PDFView/Open
Vorapoj_pa_ch3_p.pdf3.07 MBAdobe PDFView/Open
Vorapoj_pa_ch4_p.pdf2.04 MBAdobe PDFView/Open
Vorapoj_pa_ch5_p.pdf686.68 kBAdobe PDFView/Open
Vorapoj_pa_back_p.pdf727.93 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.