Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73783
Title: การใช้ตัวแบบในนิทานประกอบภาพเพื่อเพิ่มพฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ ทางสังคมกับเพื่อนในเด็กอนุบาลที่มีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมต่ำ
Other Titles: Modeling through illustrated stories to increase social interaction with peers among kindergarteners with low social interaction
Authors: ชูพงศ์ ปัญจมะวัต
Advisors: ประไพพรรณ ภูมิวุฒิสาร
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: ไม่มีข้อมูล
Subjects: นิทาน
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมในเด็ก
Tales
Social interaction in children
Issue Date: 2534
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุเพื่อศึกษาผลของการใช้ตัวแบบในนิทานประกอบภาพที่มีต่อการเพิ่มพฤติกรรม ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับเพื่อน ในเด็กอนุบาลที่มีพฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ทางสังคมเพื่อนต่ำ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนอนุบาล 1 โรงเรียนสอนเด็กก่อนเกณฑ์ วัดศิริพงษ์ กม.4 รามอินทรา กรุง เทพมหานคร จำนวน 6 คน ซึ่งมีความถี่ของพฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับเพื่อนต่ำกว่า x̅-2 S.D. ของ เวลาที่ใช้ในการสังเกตในช่วงเวลาเล่นอิสระ 27 นาที ในเด็กปกติ เป็นเวลา 5 วันติดต่อกัน การวิจัยครั้งนี้แบ่งเป็น 4 ระยะใช้การทดลองแบบที่กลุ่มควบคุม ทดสอบก่อนหลังการทดลองและติด ตามผล (ABCF Control Group Design) ใช้เวลาดำเนินการทั้งหมด 11 สัปดาห์ ในแต่ละระยะการสังเกต และบันทึกพฤติกรรม ในช่วงเวลาเล่นอิสระ 30 นาทีของแต่ละวัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติเป็นค่าร้อยละ และ t-test ผลการวิจัยพบว่า 1.เด็กที่มีระดับปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับเพื่อนต่ำที่ได้ดูตัวแบบในนิทานประกอบภาพ จะมีพฤติกรรม ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับเพื่อนเพิ่มขึ้นระหว่างระยะก่อนทดลองกับระยะหลังทดลอง 2.เด็กที่มีระดับการปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับเพื่อนต่ำ กลุ่มที่ได้ดูตัวแบบในนิทานประกอบภาพจะมี พฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับเพื่อนเพิ่มขึ้นจากระยะก่อนทดลองกับระยะหลังทดลอง ไม่แตกต่างกับกลุ่ม ที่ไม่ได้ดูนิทานประกอบภาพ
Other Abstract: The purpose of this study was to study the effect of modeling through illustrated stories on social interaction with peers among kindergarteners with low social social interaction. Chosen subjects were six kindergarteners who had social interaction with peers lesser than x̅ - 2 S.D. during 27 minutes free-play time of the 5 days observation at Watsiripong Pre-elementary School K.M.4 Ramindra road Bangkok. The experiment was devided into four phases according to ABCF control group design. In each phase, the behaviors were observed and recorded each day within 30 minutes free-play time. The data were then statistically analysed by computing percentage and t-test. Resault showed that : 1.The kindergarteners with low social interaction with peers who saw modeling through illustrated stories showed increasing social interaction with peers between pre-experimental and post-experimental periods. 2.The kindergarteners with low social interaction with peers who saw modeling through illustrated stories did not show more increasing social interaction with peers between pre- experimental and post-experimental periods than the control group who did not see illustrated stories.
Description: วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534
Degree Name: ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: จิตวิทยา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73783
ISBN: 9745790001
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chupong_pa_front_p.pdf885.46 kBAdobe PDFView/Open
Chupong_pa_ch1_p.pdf1.82 MBAdobe PDFView/Open
Chupong_pa_ch2_p.pdf873.92 kBAdobe PDFView/Open
Chupong_pa_ch3_p.pdf1.7 MBAdobe PDFView/Open
Chupong_pa_ch4_p.pdf928.62 kBAdobe PDFView/Open
Chupong_pa_ch5_p.pdf707.95 kBAdobe PDFView/Open
Chupong_pa_back_p.pdf2.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.