Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17061
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ประวิทย์ พงษ์ศิริ | - |
dc.contributor.advisor | ชลิตา ลอยกุลนันท์ | - |
dc.contributor.author | ตรีสัลล์ จันทร์เทียน | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-02-26T08:01:25Z | - |
dc.date.available | 2012-02-26T08:01:25Z | - |
dc.date.issued | 2522 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17061 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2522 | en |
dc.description.abstract | ปัญหาสำคัญที่เกิดขึ้นในการบริหารงานสาขาของธนาคารพาณิชย์ที่ได้มีการเปิดสาขาธนาคารมากขึ้น คือ ปริมาณงานบริหารสาขาเพิ่มมากขึ้น ทำให้เกิดความล่าช้า สับสนอันเป็นข้อบกพร่องในการทำงานบริหารอย่างมีประสิทธิภาพ ธนาคารพาณิชย์ต่าง ๆ ซึ่งได้มีการเปิดสาขาธนาคารเพิ่มมากขึ้น ได้มีการพัฒนาระบบการบริหารงานสาขาธนาคาร จากระบบเดิมอันมีหลายฝ่ายร่วมกันรับผิดชอบการบริหารหาลู่การจัดระบบใหม่ คือตั้ง “ฝ่ายอำนายการสาขา” รับผิดชอบงานบริหารสาขาเพียงฝ่ายเดียว ต่อมาเมื่อมีการเปิดสาขามากขึ้น ได้มีการแบ่งฝ่ายอำนวยการสาขาออกเป็น 2 ฝ่ายตามหน้าที่งานหลักเพื่อรับกับงานบริหารสาขาที่เพิ่มมากขึ้น คือ ฝ่ายสินเชื่อสาขา “และ” ฝ่ายกิจการสาขา” แต่ก็ยังไม่สามารถแก้ปัญหาการบริการงานสาขาจำนวนมากให้มีประสิทธิภาพได้ ดังนั้น จึงได้มีการเปลี่ยนระบบการบริหารงานสาขาเสียใหม่ นำเอาระบบงาน “สำนักงานเขต” และ “สำนักงานภาค” มาให้บริหารแทน การบริหารงานสาขาแบบระบบงานสำนักงานเขต เป็นการกระจายอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบบางส่วน ไปยังกลุ่มสำนักงานสาขาที่ตั้งในท้องที่ ต่าง ๆ ซึ่งได้จัดแบ่งแยกเป็นพวก ๆ เรียกว่า “เขต” โดยมีผู้จัดการเขตเป็นผู้รับผิดชอบบริหารงานสาขาในเขตสังกัด การบริหารงานสาขาแบบระบบงานสำนักงานภาค เป็นการกระจายอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบไปยังผู้จัดการภาคของบรรดาสาขาต่าง ๆ ที่ได้จัดแบ่งแยกออกตามภาคภูมิศาสตร์ ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าเขตของธนาคาร ปัจจุบันระบบงานสำนักงานเขต/ภาค ได้นำมาใช้ในการบริหารงานสาขาของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ คือ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด ธนาคารกสิกรไทย จำกัด ธนาคารกรุงไทย จำกัด ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด และ ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด ส่วนธนาคารขนาดกลาง และขนาดเล็ก ยังมิได้นำเอาระบบการบริหารงานแบบนี้มาใช้ ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดว่าธนาคารจะนำเอาระบบงานสำนักงานเขต/ภาคมาใช้หรือไม่ ขึ้นอยู่กับอัตราการเปิดสาขาใหม่ของธนาคารต่าง ๆ และ ทัศนคติปัจจุบันของระดับอำนวยการบริหารชั้นสูงของธนาคารที่จะยินยอมการกระจายอำนาจและความรับผิดชอบในการบริหารงานสาขาธนาคาร จากการสอบถามความเห็นของพนักงานธนาคารขนาดใหญ่ทั้ง 5 ธนาคาร เกี่ยวกับระบบงานสำนักงานเขต/ภาคของแต่ละธนาคาร ปรากฏว่าพนักงานระดับบริหาร และระดับปฏิบัติการส่วนใหญ่เห็นด้วยกับหลักการของระบบงาน แต่การบริหารระบบงานที่เป็นอยู่นั้น ได้ประเมินออกมาในระดับพอใช้ และโดยเฉพาะงานการจัดสายงานและการปฏิบัติขั้นดำเนินการอยู่ในระดับต่ำลงมา ดังนั้นจึงควรที่จะได้มีการปรับปรุงงานด้านดังกล่าวนี้ ความเห็นของผู้วิจัยเชื่อมั่นว่า ระหว่างระบบการบริหารสาขาแบบสำนักงานเขตและแบบสำนักงานภาคนี้ ระบบงานสำนักงานภาคจะดีกว่าระบบงานสำนักงานเขต | - |
dc.description.abstractalternative | The most significant problem currently encountered in managing the branch offices of a commercial bank which has boon expending through the addition of more and more branch offices was that the increased managerial tasks had overburdened the existing management personnel and caused general delays and confusions which would ultimately impair managerial efficiency. The commercial banks with an increasing branch offices had developed, out of the original system whereby all departments were jointly hold responsible for managing the branch offices, a management system under which the newly set up “Branch Administrative department” shall be separately responsible for managing the branch offices. Consequently, as more branches were being set up, Branch Administrative department was necessarily reorganized into two functional departments, that is, “Branch Credit Department” and the “Branch Supervisory Department” to accommodate the increased managerial tasks. Nevertheless, the problems of managing the branches was still not totally removed. Therefore a complete change was under-taken whereby the former system was replaced by the “Zone System” and the “Regional System”. The Zone System of Branch management delegates partial authorities and and responsibilitics to the geographical locality where branch offices have formed into appropriate groupings know as “Zone” which are, headed by a zone manager who is responsible for managing the member branches of the group under its control. The Regional System of branch management delegates the authorities and responsibilities to “Regional Manager” of the branch offices located in a defined geographical regions which are always several times larger than the zones. Today Zone/Regional System was being adopted by more and more large commercial banks; The Bangkok Bank Ltd, The Thai farmers Bank Ltd, The Krung Thai Bank Ltd, The Bank of Ayudhya ltd, and The Siam Commercial Bank Ltd. Yet, the system was still not being adopted by any medium and smaller banks. Therefore, the two obvious given factors which determine whether a bank will or will not adopt the system can be listed as its rates of expansion in branch offices and the existing attitudes of the top management toward the delegation of its authorities. The responses to a set of opinion seeking questions administered to the employees of five large banks were as follows: the majority of both the administrative and the operative level personnel rate the zone/regional system favorably, but rated the management aspects of the system as satisfactory, and the organizing and actuating aspects rather low. Therefore, the responses are suggestive for the further improvement of the system. The researcher has a strong opinion regarding the superiorities and merits of the regional system over the zone system. | - |
dc.format.extent | 460677 bytes | - |
dc.format.extent | 778844 bytes | - |
dc.format.extent | 1006551 bytes | - |
dc.format.extent | 544163 bytes | - |
dc.format.extent | 772136 bytes | - |
dc.format.extent | 513010 bytes | - |
dc.format.extent | 674582 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ธนาคารและการธนาคาร -- ไทย | en |
dc.subject | ธนาคารพาณิชย์ | en |
dc.title | การศึกษาการจัดตั้งสำนักงานเขต/ภาคของธนาคารพาณิชย์ในประเทศไทย | en |
dc.title.alternative | A study of the zone/regional office establishment of the commercial banks in Thailand | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | พาณิชยศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | พาณิชยศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Trisan_Ch_front.pdf | 449.88 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Trisan_Ch_ch1.pdf | 760.59 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Trisan_Ch_ch2.pdf | 982.96 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Trisan_Ch_ch3.pdf | 531.41 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Trisan_Ch_ch4.pdf | 754.04 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Trisan_Ch_ch5.pdf | 500.99 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Trisan_Ch_back.pdf | 658.77 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.