Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24405
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนวดี บุญลือ
dc.contributor.authorนิริชชา เพี้ยนภักตร์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์
dc.date.accessioned2012-11-17T06:23:52Z
dc.date.available2012-11-17T06:23:52Z
dc.date.issued2545
dc.identifier.isbn9741712014
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24405
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.(นิเทศศาสตรพัฒนาการ))-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการประชาสัมพันธ์เรื่องการปฏิรูปการศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ และผลของการประชาสัมพันธ์ โดยแบ่งวิธีการศึกษาออกเป็น 2 ส่วนคือ ศึกษากระบวนการประชาสัมพันธ์ โดยใช้การสัมภาษณ์ และศึกษาจากเอกสารโครงการ และส่วนที่สอง คือผลของการประชาสัมพันธ์ โดยศึกษาการรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติ และการยอมรับการปฏิรูปการศึกษาของครูในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 402 คน โดยการใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล ผลการศึกษาในส่วนจองกระบวนการประชาสัมพันธ์นั้น พบว่า การประชาสัมพันธ์เน้นการใช้สื่อที่หลากหลาย เพื่อให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่ม โดยเน้นไปที่สื่อมวลชน ได้แก่ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ และวิทยุ เป็นหลัก ผลการศึกษาในส่วนของการรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติ และการยอมรับการปฏิรูปการศึกษาของครูผลการวิจัยพบว่า 1. ครูที่มีสังกัด และระดับชั้นที่สอนแตกต่างกันมีการเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาแตกต่างกัน 2. การเปิดรับข่าวสารไม่มีความสัมพันธ์กับความรู้ และทัศนคติ แต่มีความสัมพันธ์กับการยอมรับการปฏิรูปการศึกษาของครู 3. ครูที่มีเพศ อายุ การศึกษา รายได้ ประสบการณ์การทำงาน สังกัด และระดับชั้นที่สอนแตกต่างกันมีความรู้ และทัศนคติไม่แตกต่างกัน แต่มีการยอมรับการปฏิรูปการศึกษาที่แตกต่างกัน 4. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษามีความสัมพันธ์กับทัศนคติเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษา 5. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษามีความสัมพันธ์กับการยอมรับการปฏิรูปการศึกษา 6. ทัศนคติเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษามีความสัมพันธ์กับการยมรับการปฏิรูปการศึกษา 7. ปริมาณข่าวสารด้านเนื้อหาเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาที่ครูได้รับเป็นตัวแปรอธิบายการยอมรับการปฏิรูปการศึกษาได้ดีที่สุด
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to study the process of public relations for the educational reforms issue organized by the Office of the National Education Commission and effect of public relation for this mission. The study is divided into 2 parts. The first part studied the process of public relations by interview PR officers and review a number of project documents. The second part assessed the effect of public relations by surveying teachers' information exposure, knowledge, attitude and acceptance of educational reforms among 402 teachers in Bangkok metropolis by using questionnaires. Findings: 1. Public relation emphasized on using mass media in order to cover all the targets focusing on TV, newspaper and radio. 2. Teachers different in office affiliations and school levels were different in exposure to educational reforms. 3. Information exposure did not significantly correlate with knowledge and attitude except the acceptance of educational reforms. 4. Teachers different in sex, age, education level, income, length of work, office affiliations and school levels were not significantly different in knowledge and attitude, except the acceptance of educational reforms. 5. Knowledge of educational reforms correlated with the attitude of educational reforms. 6. Knowledge of educational reforms correlated with the acceptance of educational reforms. 7. Attitude of educational reforms correlated with the acceptance of educational reforms. 8. Content of education reforms could best explain the acceptance of the educational reforms.
dc.format.extent3569553 bytes
dc.format.extent3336427 bytes
dc.format.extent31569421 bytes
dc.format.extent3343501 bytes
dc.format.extent17369127 bytes
dc.format.extent11469802 bytes
dc.format.extent4871360 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleผลของการประชาสัมพันธ์ต่อความรู้ ทัศนคติ และการยอมรับการปฏิรูปการศึกษาของครูในเขตกรุงเทพมหานคen
dc.title.alternativeEffect of public relations to knowledge, attitude and acceptance of educational reforms among teachers in Bangkok Metropolisen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nirichcha_pi_front.pdf3.49 MBAdobe PDFView/Open
Nirichcha_pi_ch1.pdf3.26 MBAdobe PDFView/Open
Nirichcha_pi_ch2.pdf30.83 MBAdobe PDFView/Open
Nirichcha_pi_ch3.pdf3.27 MBAdobe PDFView/Open
Nirichcha_pi_ch4.pdf16.96 MBAdobe PDFView/Open
Nirichcha_pi_ch5.pdf11.2 MBAdobe PDFView/Open
Nirichcha_pi_back.pdf4.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.